Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/59095
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | นิสิต ตัณฑวิเชฐ | - |
dc.contributor.author | ฐิติพร ตันติชนะกุล | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์ | - |
dc.date.accessioned | 2018-06-15T09:11:09Z | - |
dc.date.available | 2018-06-15T09:11:09Z | - |
dc.date.issued | 2552 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/59095 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2552 | en_US |
dc.description.abstract | งานวิจัยนี้ศึกษาผลของสารเติมแต่งในเจลอิเล็กโทรไลต์ต่อสมรรถนะของแบตเตอรี่ชนิดตะกั่ว-กรด แบบวาล์วควบคุม จากการศึกษาผลของสารเติมแต่งในอิเล็กโทรไลต์เหลว พบว่าโซเดียมซัลเฟต ช่วยเพิ่มสมรรถนะของแบตเตอรี่ โดยให้ค่าความจุมากขึ้นร้อยละ 6.85 และมีประสิทธิภาพ เพิ่มขึ้นร้อยละ 2.35 เมื่อเทียบกับแบตเตอรี่ที่ไม่มีการเติมโซเดียมซัลเฟต ดังนั้นในส่วนของเจลอิเล็กโทรไลต์จึงเตรียมจากฟูมซิลิกา กรดซัลฟิวริก สารเติมแต่งโซเดียมซัลเฟต และสารเติมแต่งต่างๆ ได้แก่ สารประกอบแอลดิไฮด์ วานิลลิน พอลิเมทิลเมทาคริเลต พอลิแอคริลาไมด์ และพอลิพิร์-โรล จากการทดสอบระยะเวลาในการเกิดเจลและความแข็งของเจล พบว่าการเพิ่มปริมาณซิลิกา สารประกอบแอลดิไฮด์ วานิลลินและพอลิแอคริลาไมด์ ส่งผลให้ระยะเวลาในการเกิดเจลสั้นลงและทำให้ความแข็งของเจลเพิ่มขึ้น ผลการวิเคราะห์เทคนิคไซคลิกโวแทมเมทรี พบว่าเจลอิเล็กโทรไลต์ช่วยลดอัตราการเกิดปฏิกิริยาไฮโดรเจนและออกซิเจน และการเพิ่มปริมาณสารประกอบแอลดิไฮด์และวานิลลินจะช่วยลดอัตราการเกิดปฏิกิริยาไฮโดรเจนและออกซิเจนได้มากขึ้น ผลการทดสอบสมรรถนะในแบตเตอรี่ขนาด 4 แอมป์แปร์-ชั่วโมง ภายใต้สภาวะการใช้งานจนคายประจุหมด (100% Depth of Discharge, DoD) พบว่าเมื่อไม่เติมสารเติมแต่งเจลแบตเตอรี่จะให้ค่าความจุโดยรวมสูงกว่าแบตเตอรี่ที่มีอิเล็กโทรไลต์ในสภาวะเหลว โดยเจลที่เตรียมจากฟูมซิลิกา 5% w/v จะให้แนวโน้มค่าความจุมากที่สุด และเมื่อมีการเติมสารเติมแต่งพบว่าเจลที่เตรียมจากฟูมซิลิกา 4% w/v และ สารประกอบแอลดิไฮด์ 0.005 %w/v ให้แนวโน้มค่าความจุที่อัตราการคายประจุสูงกว่าเจลแบตเตอรี่ที่เตรียมจากฟูมซิลิกา 5% w/v ร้อยละ 6.34 โดยให้ค่าความจุในการคายประจุที่อัตราต่ำใกล้เคียงกัน นอกจากนี้ยังพบว่าเจลแบตเตอรี่ที่เตรียมขึ้นในงานวิจัยนี้ให้ค่าสมรรถนะสูงกว่าเจลแบตเตอรี่ที่ใช้ทั่วไปในทางการค้าเมื่อทดสอบในแบตเตอรี่ขนาด 7 แอมป์แปร์-ชั่วโมง และยังพบว่าเจลแบตเตอรี่มีอัตราการคายประจุด้วยตัวเอง (self discharge) ช้ากว่าแบตเตอรี่ที่มีอิเล็กโทรไลต์ในภาวะเหลว โดยหลังเก็บเป็นระยะเวลา 3 เดือน เจลแบตเตอรี่มีความจุที่เหลืออยู่ร้อยละ 93 ซึ่งสูงกว่าแบตเตอรี่ที่มีอิเล็กโทรไลต์ในสภาวะของเหลวประมาณร้อยละ 6. | en_US |
dc.description.abstractalternative | This thesis studied the effects of additives in gel electrolyte on performance of valve-regulated lead-acid (VRLA) batteries. Preliminary result shows that adding sodium sulfate in liquid electrolyte increases discharge capacity and efficiency about 6.85% and 2.35 %, respectively. So that in this study the gel electrolytes were prepared from fumed silica, sulfuric acid sodium sulfate and different additives (aldehyde, vanilline, polymethyl methacrylate, polyacrylamide and polypyrrole). The results show that higher silica content and the presence of aldehyde, vanilline or polyacrylamide shorthen the gelling time and increase the gel strength. Based on CV results, gel electrolytes have lower hydrogen and oxygen evolution compared to the conventional liquid electrolyte. Addition of aldehyde or vanilline in gel electrolyte further reduces hydrogen and oxygen evolution. Different electrolyte formulations were filled into the 4 Ah VRLA batteries to test the battery performance under 100% depth of discharge conditions. The results show that without additive, the gel electrolyte prepared with 5%w/v fumed silica was found to yield the highest performance. The addition of 0.005 %w/v aldehyde in 4%w/v fumed silica increases discharge capacity on high rate discharge test by 6.34% compared to gel electrolyte prepared with 5%w/v fumed silica with no additive. It even gives higher performance than the commercial gel battery. The results of the self-discharge test show that prepared gel battery still has 93 % capacity after has been stored for 3 months, which is about 6% higher than the conventional liquid electrolyte battery. | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.relation.uri | http://doi.org/10.14457/CU.the.2009.2125 | - |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.subject | Electrolytes | en_US |
dc.subject | Electric batteries | en_US |
dc.subject | อิเล็กทรอไลต์ | en_US |
dc.subject | แบตเตอรี่ | en_US |
dc.title | ผลของสารเติมแต่งในเจลอิเล็กโทรไลต์ต่อสมรรถนะของแบตเตอรี่ชนิดตะกั่ว-กรดแบบวาล์วควบคุม | en_US |
dc.title.alternative | Effects of additives in gel electrolyte on performance of valve-regulated lead-acid battery | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต | en_US |
dc.degree.level | ปริญญาโท | en_US |
dc.degree.discipline | เคมีเทคนิค | en_US |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.email.advisor | Nisit.T@Chula.ac.th | - |
dc.identifier.DOI | 10.14457/CU.the.2009.2125 | - |
Appears in Collections: | Sci - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Titiporn Tantichanakul.pdf | 2.24 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.