Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/59198
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorคุณากร ภู่จินดา-
dc.contributor.authorวิทวัส รัตนถาวร-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์-
dc.date.accessioned2018-06-24T08:35:43Z-
dc.date.available2018-06-24T08:35:43Z-
dc.date.issued2552-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/59198-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2552en_US
dc.description.abstractงานวิจัยนี้มุ่งเน้นที่จะพัฒนาการพอกพูนตัวเร่งปฏิกิริยาแพลทินัมรูทิเนียม/คาร์บอนลงบนชั้นแพร่แก๊ส (GDL) สำหรับเซลล์เชื้อเพลิงพีอีเอ็มด้วยวิธีการพิมพ์อิงก์เจ็ต โดยในงานวิจัยนี้สามารถเตรียมหมึกพิมพ์ตัวเร่งปฏิกิริยาที่มีสมบัติความหนืด 3.2 เซนติพอยส์ และแรงตึงผิวกับ 34 มิลลินิวตัน/เมตร ซึ่งใกล้เคียงกับสมบัติหมึกพิมพ์ทางการค้าและศึกษาเปรียบเทียบสมรรถนะเยื่อแผ่นประกอบขั้วไฟฟ้า (MEA) ที่เตรียมด้วยวิธีต่างๆโดยใช้ตัวเร่งปฏิกิริยาแพลทินัม พบว่า MEA ที่เตรียมด้วยวิธีการพิมพ์ให้ค่าความหนาแน่นกระแสไฟฟ้าสูงที่สุดอยู่ที่ 537 มิลลิแอมป์ต่อตารางเซนติเมตร ที่ศักย์ไฟฟ้า 0.6 โวลต์ จากนั้นศึกษาหาปริมาณความเข้มข้นที่เหมาะสมของตัวเร่งปฏิกิริยาโลหะผสมแพลทินัมรูทิเนียมที่ร้อยละ 5, 20 และ 40 โดยน้ำหนัก พบว่าปริมาณความเข้มข้นของตัวเร่งปฏิกิริยาที่ให้สมรรถนะสูงที่สุดคือ ความเข้มข้นร้อยละ 20 โดยน้ำหนัก ให้ความหนาแน่นกระแสไฟฟ้า 253 มิลลิแอมป์ต่อตารางเซนติเมตร ที่ 0.6 โวลต์ มากกว่าความเข้มข้นร้อยละ 5 และ 40 โดยน้ำหนัก อยู่ร้อยละ 15.8 และ 45.5 ตามลำดับ จากนั้นศึกษาประสิทธิภาพในการขยายขนาดเยื่อแผ่นประกอบขั้วไฟฟ้าด้วยวิธีการพิมพ์อิงก์เจ็ต โดยทดสอบในเซลล์เชื้อเพลิงแบบแถวลำดับ (Array fuel cell) พบว่าวิธีการพิมพ์อิงก์เจ็ตมีประสิทธิภาพดีในการขยายขนาดขั้วไฟฟ้าในขนาด 25 ตารางเซนติเมตร ซึ่งมีความเบี่ยงเบนความหนาแน่นในแต่ละตำแหน่งเพียงร้อยละ 7.8 แต่ยังไม่เหมาะสมที่จะขยายขนาดขั้วไฟฟ้าขนาดเกิน 100 ตารางเซนติเมตรen_US
dc.description.abstractalternativeThis research was carried out to develop the direct deposition of PtRu/C catalyst onto the gas diffusion layer by inkjet printing for PEM fuel cell. Our prepared catalyst ink had the viscosity about 3 cP and the surface tension about 34 mN/m, having comparable properties as the commercial black ink. The 5 cm2 Pt/C MEA prepared by inkjet printing provided a current density as high as 537 mA/cm2 at a cell voltage of 0.6 V, which was higher than those prepared by either painting or spraying. The concentration of PtRu catalyst was varied by 5%wt., 20%wt., and 40%wt. It was indicated that 20%wt. PtRu had the highest performance with 253 mA/cm2 current density at 0.6V which was greater than that of 5%wt. and 40%wt. by 15.8% and 45.45%, respectively. Moreover, efficiency of MEA expansion using inkjet printing was analyzed in array fuel cell. It could be seen that inkjet printing was an appropriate method for 25 cm2 MEA preparation because current density deviation for 25 points was only 7.8%. However, it was not a good method to prepare electrode over 100 cm2.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2009.2148-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectเซลล์เชื้อเพลิงชนิดเมมเบรนแลกเปลี่ยนโปรตอนen_US
dc.subjectตัวเร่งปฏิกิริยาแพลทินัมen_US
dc.subjectProton exchange membrane fuel cellsen_US
dc.subjectPlatinum catalystsen_US
dc.titleการเตรียมชั้นตัวเร่งปฏิกิริยาแพลทินัมรูทิเนียม/คาร์บอนโดยการพิมพ์อิงก์เจ็ตบนชั้นแพร่แก๊สสำหรับเซลล์เชื้อเพลิงพีอีเอ็มen_US
dc.title.alternativePreparation of PtRu/C catalyst layer using inkjet printing on gas diffusion layer for pem fuel cellen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineเคมีเทคนิคen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorkunakorn.p@chula.ac.th-
dc.description.publicationแฟ้มข้อมูลวิทยานิพนธ์ฉบับเต็ม (Full Text) ชื่อเรื่องนี้เป็นแฟ้มข้อมูลของนิสิตเจ้าของวิทยานิพนธ์ที่ส่งผ่านทางบัณฑิตวิทยาลัย-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2009.2148-
Appears in Collections:Sci - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Wittawat Ratanathvorn.pdf3.73 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.