Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/59228
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorKanokwan Nisapakultorn-
dc.contributor.advisorOnanong Silkosessak-
dc.contributor.authorSupreda Suphanantachat-
dc.contributor.otherChulalongkorn University. Faculty of Dentistry-
dc.date.accessioned2018-06-26T11:23:17Z-
dc.date.available2018-06-26T11:23:17Z-
dc.date.issued2009-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/59228-
dc.descriptionThesis (M.Sc.)--Chulalongkorn University, 2009en_US
dc.description.abstractBackground: Peri-implant soft tissue recession is a major esthetic concern for the anterior implants. The aim of this study was to determine factors that affected the facial marginal recession and papillary recession around single-tooth implants in the anterior maxilla. Methods: Forty single-tooth implants in the anterior maxilla were studied. Variables possibly associated with soft tissue recession were obtained from clinical measurements, study models, peri-apical radiographs, and computerized tomograms. The Fisher’s exact test, analysis of variance, and binary logistic regression analysis were used to determine the influence of each factor on facial marginal recession and papillary recession. Results: The majority of the implants (75%) replaced the upper central incisors. The mean facial marginal recession was 0.5 ± 0.9 mm. Eighty-nine percents of the implants had more than half of papilla fill. Facial marginal recession was influenced by many factors. Increased risk of facial marginal recession was significantly associated with thin peri-implant biotype, proclined implant fixture angle, more apical level of facial bone crest, increased distance from contact point to bone crest, contact point to platform, and contact point to implant bone. Thin biotype was the most significant factor in determining the presence of facial marginal recession. Increased distance from contact point to bone crest was the only factor significantly associated with increased risk for papillary recession. Conclusions: Papillary recession around single-tooth implants in the anterior maxilla was mainly influenced by the interproximal bone crest level of the adjacent tooth. Facial marginal recession, on the other hand, was affected by multiple factors including, the peri-implant biotype, the facial bone crest level, the implant fixture angle, the interproximal bone crest level, the depth of implant platform, and the level of first bone to implant contact.en_US
dc.description.abstractalternativeที่มาและความสำคัญ การเกิดเหงือกร่นรอบรากเทียมมีความสำคัญยิ่งต่อความสวยงามโดยเฉพาะบริเวณฟันหน้า การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาถึงปัจจัยต่างๆที่มีผลต่อการร่นของขอบเหงือกด้านใบหน้า และการร่นของเหงือกสามเหลี่ยมระหว่างฟัน บริเวณรากเทียมฟันหน้าบน วัสดุและวิธีการ ทำการศึกษาในฟันรากเทียมแบบหนึ่งซี่จำนวนทั้งสิ้น 40 ตัว โดยประเมินถึงปัจจัยที่คาดว่าน่าจะมีผลต่อการเกิดเหงือกร่นรอบรากเทียม ซึ่งได้จากการเก็บข้อมูลทางคลินิก แบบจำลองศึกษา ภาพถ่ายรังสีรอบปลายราก และภาพถ่ายรังสีส่วนตัดอาศัยคอมพิวเตอร์ (computerized tomograms) และทำการวิเคราะห์เชิงสถิติโดยการทดสอบ Fisher’s exact การวิเคราะห์ความแปรปรวน และการวิเคราะห์การถดถอยโลจิสติกแบบตัวแปรทวิ เพื่อทราบถึงอิทธิพลของแต่ละตัวแปรต่อการมีเหงือกร่นรอบรากเทียม ผลการศึกษา รากเทียมส่วนใหญ่คิดเป็น ร้อยละ 75 ของรากเทียมที่พบในกลุ่มตัวอย่างได้รับการฝังในตำแหน่งฟันตัดบนซี่กลาง ค่าเฉลี่ยของระยะการร่นของขอบเหงือกด้านใบหน้ามีค่าเท่ากับ 0.5 ± 0.9 มิลลิเมตร และพบว่าร้อยละ 89.2 ของกลุ่มตัวอย่างมีเหงือกสามเหลี่ยมระหว่างฟันเติมเต็มช่องว่างระหว่างฟันมากกว่าครึ่งหนึ่งของความสูงของช่องว่างดังกล่าว หลายปัจจัยส่งอิทธิพลต่อการเพิ่มความเสี่ยงในการเกิดขอบเหงือกร่นทางด้านใบหน้าอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ซึ่งได้แก่ การมีเนื้อเยื่อเหงือกชนิดบาง (thin biotype) มุมในการฝังรากเทียมที่แคบลง ระดับของสันกระดูกเบ้าฟันด้านใบหน้าที่มากขึ้น ระยะจากจุดสัมผัส (contact point) ถึงสันกระดูกระหว่างฟัน ส่วนแท่นของรากเทียม (implant platform) และจุดแรกที่รากเทียมสัมผัสกับกระดูกเบ้าฟัน (implant bone) ที่เพิ่มมากขึ้น โดยที่การมีเนื้อเยื่อเหงือกชนิดบางนั้นเป็นปัจจัยที่ส่งผลมากที่สุดต่อการร่นของขอบเหงือกด้านใบหน้า ในขณะที่ความเสี่ยงในการเกิดการร่นของเหงือกสามเหลี่ยมระหว่างฟันได้รับอิทธิพลจากเพียงปัจจัยเดียว คือ ระยะจากจุดสัมผัสถึงสันกระดูกระหว่างฟัน สรุป ปัจจัยหลักที่มีผลต่อการร่นของเหงือกสามเหลี่ยมระหว่างฟันบริเวณรากเทียม คือ ระดับความสูงของสันกระดูกระหว่างฟันของฟันธรรมชาติข้างเคียง ในขณะที่การร่นของขอบเหงือกด้านใบหน้านั้นได้รับอิทธิพลจากหลากหลายปัจจัย ซึ่งได้แก่ ชนิดของเนื้อเยื่อเหงือกรอบรากเทียม (peri-implant biotype) ระดับของสันกระดูกเบ้าฟันด้านใบหน้า มุมในการฝังรากเทียม ระดับความสูงของสันกระดูกระหว่างฟัน ระดับความลึกในการฝังรากเทียม และตำแหน่งที่รากเทียมสัมผัสกับกระดูกเบ้าฟัน การศึกษาตามแผนแบบติดตามผลไปข้างหน้าในระยะยาวเพิ่มเติม จะสามารถให้ข้อมูลเกี่ยวกับปัจจัยต่างๆเหล่านี้ในแง่ของการเป็นปัจจัยเสี่ยงของการเกิดเหงือกร่นรอบรากเทียมได้ดียิ่งขึ้นen_US
dc.language.isoenen_US
dc.publisherChulalongkorn Universityen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2009.1660-
dc.rightsChulalongkorn Universityen_US
dc.subjectเหงือก -- โรคen_US
dc.subjectรากฟันen_US
dc.subjectทันตกรรมรากเทียมen_US
dc.subjectGums -- Diseasesen_US
dc.subjectTeeth -- Rootsen_US
dc.subjectDental implantsen_US
dc.titleFactors affecting soft tissue recession around anterior maxillary single-tooth implantsen_US
dc.title.alternativeปัจจัยที่มีผลต่อการร่นของเหงือกรอบรากเทียมแบบหนึ่งซี่บริเวณฟันหน้าบนen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameMaster of Scienceen_US
dc.degree.levelMaster's Degreeen_US
dc.degree.disciplinePeriodonticsen_US
dc.degree.grantorChulalongkorn Universityen_US
dc.email.advisorKanokwan.N@Chula.ac.th-
dc.email.advisorOnanong.C@Chula.ac.th-
dc.description.publicationแฟ้มข้อมูลวิทยานิพนธ์ฉบับเต็ม (Full Text) ชื่อเรื่องนี้เป็นแฟ้มข้อมูลของนิสิตเจ้าของวิทยานิพนธ์ที่ส่งผ่านทางบัณฑิตen_US
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2009.1660-
Appears in Collections:Dent - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Suprada Suphanantachat.pdf682.41 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.