Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/59344
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสุรัตน์ โหราชัยกุล-
dc.contributor.authorอภิญญา แซ่เต็ง-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะรัฐศาสตร์-
dc.date.accessioned2018-08-22T14:56:48Z-
dc.date.available2018-08-22T14:56:48Z-
dc.date.issued2553-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/59344-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ร.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2553en_US
dc.description.abstractวิทยานิพนธ์ฉบับนี้มุ่งศึกษาถึงนโยบายต่างประเทศอินเดียและความสัมพันธ์ระหว่าง อินเดียและสหรัฐอเมริกาทั้งในช่วงสงครามเย็นและหลังสงครามเย็น โดยการศึกษานี้ได้นำเอา แนวคิดเรื่อง การเมืองเกี่ยวพันของเจมส์ เอ็น รอสนาว มาเป็นกรอบในการวิเคราะห์ จากการศึกษาพบว่า หลังสงครามเย็น อินเดียได้เปลี่ยนแปลงนโยบายต่างประเทศ ของตนที่มีต่อสหรัฐอเมริกา จากที่เคยใช้นโยบายไม่ฝักใฝ่ฝ่ายใดเพื่อหลีกเลี่ยงการพัวพันกับ มหาอำนาจใดๆ มาเป็นการดำเนินนโยบายใกล้ชิดและผูกพันกับสหรัฐอเมริกามากขึ้น โดยเฉพาะหลังเหตุการณ์การก่อการร้าย 11 กันยา ซึ่งการเปลี่ยนแปลงในนโยบาย ต่างประเทศของอินเดียเช่นนี้เกิดมาจากความเชื่อมโยงของทั้งปัจจัยภายในและภายนอก โดย ปัจจัยภายใน คือ ผู้นำ ความจำเป็นทางเศรษฐกิจของอินเดีย ความต้องการมีบทบาทในเวที ระหว่างประเทศ และภัยก่อการร้าย ส่วนปัจจัยภายนอก ได้แก่ ความเปลี่ยนแปลงในภาวะ แวดล้อมระหว่างประเทศ การล่มสลายของสหภาพโซเวียต และนโยบายของสหรัฐอเมริกาต่อ อินเดียen_US
dc.description.abstractalternativeThe main theme of this thesis is to study India’s foreign policy and relations between India and the United States of America both in and after the cold war. The concept of Linkage Politics of James N. Rosenau is used as a framework of analysis. The study found that, after the cold war, India had changed its own foreign policy towards the United States of America. From using non-alignment policy in order to avoid engaging with any major powers became running closer policy especially after the 9/11 incident. The important factors supporting the changing of India’s foreign policy were both internal and external. The internal factor was the leader, the need of India’s economy, the desire to have the role in international stage and terrorism. The external factors were the changing in international environment, the collapse of the Soviet Union and the United States of America’s policy toward India.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2010.1566-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectสงครามเย็นen_US
dc.subjectนโยบายต่างประเทศ -- อินเดียen_US
dc.subjectอินเดีย -- ความสัมพันธ์กับต่างประเทศ -- สหรัฐอเมริกาen_US
dc.subjectCold waren_US
dc.subjectInternational relations -- Indiaen_US
dc.subjectIndia -- Foreign relations -- United Statesen_US
dc.titleการเปลี่ยนแปลงนโยบายต่างประเทศอินเดียต่อสหรัฐอเมริกาหลังสงครามเย็น (ค.ศ. 1991-2008)en_US
dc.title.alternativeChanging of India's Foreign Policy Toward the United States of America After the Cold War (1991-2008)en_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameรัฐศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineความสัมพันธ์ระหว่างประเทศen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorSurat.H@Chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2010.1566-
Appears in Collections:Pol - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Apinya Sae-Teng.pdf1.93 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.