Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/59521
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสุรศักดิ์ ตรีนัย-
dc.contributor.advisorประนอม รอดคำดี-
dc.contributor.authorกัลยาลักษณ์ ไชยศิริ-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะพยาบาลศาสตร์-
dc.date.accessioned2018-09-14T05:07:10Z-
dc.date.available2018-09-14T05:07:10Z-
dc.date.issued2560-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/59521-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (พย.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2560-
dc.description.abstractทารกแรกเกิดน้ำหนักน้อยเสี่ยงต่อการเกิดปัญหาพฤติกรรมการตอบสนอง เนื่องจากระบบประสาทที่ยังพัฒนาไม่สมบูรณ์ และการขาดการกระตุ้นการสัมผัสจากมารดาที่ต่อเนื่อง การวิจัยนี้เป็นวิจัยกึ่งทดลองแบบศึกษาสองกลุ่มที่ไม่เท่าเทียมกันวัดแบบอนุกรมเวลาเพื่อเปรียบเทียบพฤติกรรมการตอบสนองของทารกแรกเกิดน้ำหนักน้อยในมารดาครรภ์แรก ระหว่างกลุ่มทดลองที่ได้รับโปรแกรมการเสริมพลังอำนาจมารดาร่วมกับการสัมผัสแบบอ่อนโยนและกลุ่มควบคุมที่ได้รับการพยาบาลแบบปกติคัดเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบเฉพาะเจาะจงคือ ทารกแรกเกิดน้ำหนักน้อยที่เกิดจากมารดาครรภ์แรกที่ได้รับการรักษาในแผนกทารกแรกเกิดมีปัญหา โรงพยาบาลตำรวจ จำนวน 44 คน แบ่งเป็นกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุม กลุ่มละ 22 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ 1) โปรแกรมการเสริมพลังอำนาจมารดาร่วมกับการสัมผัสแบบอ่อนโยน 2) แบบประเมินพลังอำนาจของมารดา มีค่าความเที่ยงเท่ากับ .89 3) แบบประเมินพฤติกรรมการตอบสนองทารก มีค่าความเที่ยงเท่ากับ .98 ผ่านการประเมินโดยผู้ทรงคุณวุฒิจำนวน 7 ท่าน วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติพรรณนา และสถิติแปรปรวนสองทางแบบวัดซ้ำ (Two-Way Repeated Measure ANOVA ) และเมื่อพิจารณาวิเคราะห์พฤติกรรมการตอบสนองเป็นรายด้าน คือ การหลับตื่น และการเคลื่อนไหว พบว่า 1. พฤติกรรมการหลับตื่นของทารกแรกเกิดน้ำหนักน้อยกลุ่มทดลอง และทารกแรกเกิดน้ำหนักน้อยกลุ่มควบคุม มีความแตกต่างกันในพฤติกรรมกลุ่ม Quiet sleep, Drowsy, Awake alert, Active awake และ Crying และไม่พบความแตกต่างในพฤติกรรมกลุ่ม Active sleep อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ .05 2. พฤติกรรมการเคลื่อนไหวร่างกายของทารกแรกเกิดน้ำหนักน้อยกลุ่มทดลอง และทารกแรกเกิดน้ำหนักน้อยกลุ่มควบคุม มีความแตกต่างกันในพฤติกรรมกลุ่ม Behavioral distress cues, No movement และ Smiles และไม่พบความแตกต่างในพฤติกรรมกลุ่ม Motor Activity อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่.05-
dc.description.abstractalternativeLow birth weight neonates are risky to problems in response behavior due to lack of continuous sensory stimulation from mother. This Quasi experimental design, interrupted time series with non-equivalence control-group design. Aimed at comparing the responding behavior of low birth weight neonates of first time mothers between experimental group receiving the maternal empowerment program combined with gentle human touch and the control group received normal nursing care. 44 low birth weight newborn babies of first time mothers hospitalized in high risk ward, Police General Hospital22 babies in experimental and control group equally. The instruments used were 1) The maternal empowerment program combined with gentle human touch 2) The maternal empower scale and 3) neonatal assessment coding sheet. The reliabilities of the maternal empower scale and neonatal assessment coding sheet were .89 and .98, respectively. All instruments were tested for content validity by a panel of 7 experts, and were tested for reliability. The data were analyzed using descriptive statistics and two-way repeated measure ANOVA. The results revealed that: 1. Neonate's sleeping and waking up stage: Neonatal in experimental group had differences in Quiet sleep, Drowsy, Awake alert, Active awake and Crying, but no different in Active sleep at .05 statistical significance. 2. Neonate's motor activity categories: Neonatal in experimental group had differences in Behavioral distress cues, No movement and Smiles, but no different in Motor Activity at .05 statistical significance.-
dc.language.isoth-
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
dc.relation.urihttp://doi.org/10.58837/CHULA.THE.2017.1063-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
dc.subjectทารกแรกเกิด-
dc.subjectน้ำหนักทารกแรกเกิดต่ำ-
dc.subjectNewborn infants-
dc.subjectBirth weight, Low-
dc.titleผลของโปรแกรมการเสริมสร้างพลังอำนาจมารดาร่วมกับการสัมผัสแบบอ่อนโยน ต่อพฤติกรรมตอบสนองของทารกแรกเกิดน้ำหนักน้อย-
dc.title.alternativeThe effect of maternal empowerment program combined with gentle human touch on response behavior of low birth weight newborn-
dc.typeThesis-
dc.degree.nameพยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต-
dc.degree.levelปริญญาโท-
dc.degree.disciplineพยาบาลศาสตร์-
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
dc.email.advisorSurasak.Tr@chula.ac.th,streenai@hotmail.com-
dc.email.advisorbranomrod@gmail.com-
dc.identifier.DOI10.58837/CHULA.THE.2017.1063-
Appears in Collections:Nurse - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
5777153136.pdf10.8 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.