Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/59565
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorพิษณุ เสงี่ยมพงษ์-
dc.contributor.authorพรพรรณ ประดิษฐ์แท่น-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะรัฐศาสตร์-
dc.date.accessioned2018-09-14T05:08:15Z-
dc.date.available2018-09-14T05:08:15Z-
dc.date.issued2560-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/59565-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ร.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2560-
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มุ่งศึกษาเกี่ยวกับกระบวนการทางนโยบายในการตัดสินใจพัฒนาโครงข่ายรถไฟระหว่างเมือง ช่วงรัฐบาลยิ่งลักษณ์และรัฐบาลประยุทธ์ เพื่อแสดงให้เห็นและอธิบายถึงความแตกต่างเพียงเล็กน้อยของนโยบายที่เกิดขึ้นกับทั้ง 2 รัฐบาล การวิจัยประการแรกคือนโยบายที่เกิดขึ้นระหว่าง 2 รัฐบาลไม่มีความแตกต่างกันมากนัก ซึ่งความคล้ายคลึงกันของนโยบายของทั้ง 2 รัฐบาล เป็นมาจากการที่ทั้ง 2 รัฐบาลเลือกใช้การพัฒนาโครงข่ายรถไฟระหว่างเมืองเป็นเครื่องมือในการพัฒนาเศรษฐกิจ ส่งผลให้เมื่อนโยบายดำเนินไปสู่ขั้นการนำไปปฏิบัติผู้เข้ารวมประกวดราคาส่วนใหญ่ล้วนเป็นบริษัทธุรกิจรับเหมาก่อสร้างขนาดใหญ่ ทั้งๆ ที่รัฐบาลประยุทธ์มีความพยายามที่จะเปลี่ยนแปลงให้บริษัทธุรกิจกิจรับเหมาก่อสร้างที่มีขนาดเล็กกว่าสามารถเข้าสู่กระบวนการประกวดราคาให้มากขึ้นจากการวิจัยพบว่าความเชื่อมโยงกันระหว่างเป้าหมายในการพัฒนาเศรษฐกิจของรัฐบาลกับการที่บริษัทธุรกิจรับเหมาก่อสร้างขนาดใหญ่เป็นผู้ดำเนินการสร้างในโครงการรถไฟทางคู่ฯ สะท้อนให้เห็นถึงการมีสถานะพิเศษของบริษัทธุรกิจรับเหมาก่อสร้างขนาดใหญ่จึงส่งผลให้นโยบายในเรื่องดังกล่าวของทั้ง 2 รัฐบาลมีความคล้ายคลึงกัน การวิจัยประการที่สองคือความต่อเนื่องของระบบราชการในส่วนที่มีความเกี่ยวข้องกับกระบวนการทางนโยบาย ทั้งๆ ที่การเปลี่ยนแปลงของฝ่ายบริหารนำไปสู่การเปลี่ยนแปลงของผู้มีตำแหน่งทางการเมือง หากแต่ตำแหน่งและบทบาทของฝ่ายข้าราชการยังคงเหมือนเดิม ส่งผลให้ฝ่ายข้าราชการสามารถพัฒนาและขับเคลื่อนนโยบายในช่วงของทั้ง 2 รัฐบาลไปในทิศทางที่ค่อนข้างคล้ายคลึงกัน ดังนั้นจึงสามารถสรุปได้ว่านโยบายการพัฒนาโครงข่ายรถไฟระหว่างเมืองมีการเปลี่ยนแปลงเกิดขึ้นระหว่างช่วงรัฐบาลยิ่งลักษณ์และรัฐบาลประยุทธ์เพียงเล็กน้อยเท่านั้น-
dc.description.abstractalternativeThis research examines the decision making of the intercity rail system in Yingluck and Prayuth Governments in order to show and explain the simply minor difference between the policies in the two Governments. The study first argues that the policies between the two governments do not much differ from each other. Then, it proceeds to explain in detail the reasons behind their similarities. Both governments chose the inter-provincial railway system as a means of the economic development. Within the policies, the bidders of the construction contract mostly constituted large companies. This research argues that there is a close connection between the economic development goals and large construction companies as the contractors in the development of the inter-city rail system, mostly due to the economy of scale as commonly known. This implies the privileged position of large construction companies, which associates with the similarity in the policies to develop the intercity rail system of both governments. Secondly, the continuity of the bureaucracy in its involvement in the policy process also explicates the protraction of the policies from one Government to another - from Yingluck to Prayuth. Regardless of the change of political appointees from a change in administrations, positions and roles of the bureaucracy lingers from one administration to another. That is, the bureaucracy develops and propels rather similar policies in both Governments. Thus, this research argues for the incrementalism, the small change, if any, in the policy making of the inter-city rail system, between Yingluck and Prayuth Governments.-
dc.language.isoth-
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
dc.relation.urihttp://doi.org/10.58837/CHULA.THE.2017.691-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
dc.subjectการรถไฟ-
dc.subjectการพัฒนาเศรษฐกิจ-
dc.subjectRailroads-
dc.subjectEconomic development-
dc.titleกระบวนการทางนโยบายในการตัดสินใจพัฒนาโครงข่ายรถไฟระหว่างเมือง-
dc.title.alternativeThe Policy Making Process to Develop Intercity Rail System-
dc.typeThesis-
dc.degree.nameรัฐศาสตรมหาบัณฑิต-
dc.degree.levelปริญญาโท-
dc.degree.disciplineการปกครอง-
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
dc.email.advisorPisanu.S@Chula.ac.th,pisanu.sangiampongsa@gmail.com-
dc.identifier.DOI10.58837/CHULA.THE.2017.691-
Appears in Collections:Pol - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
5780620224.pdf2.71 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.