Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/60105
Title: The Development of the English Content-Based Reading Materials for Buddhist Student Monks
Other Titles: การพัฒนาสื่อการอ่านภาษาอังกฤษตามการสอนแบบเน้นเนื้อหาสำหรับพระนิสิต
Authors: Phatchareporn Supphipat
Advisors: Sumalee Chinokul
Other author: Chulalongkorn University. Faculty of Education
Advisor's Email: Sumalee.C@Chula.ac.th,csumalee@gmail.com
Issue Date: 2017
Publisher: Chulalongkorn University
Abstract: The objectives of this study are 1) to develop the English content-based reading materials for Buddhist student monks, 2) to examine the attitude of student monks towards the quality of the English content-based reading materials, and 3) to examine the attitude of teachers towards the quality of the English content-based reading materials. The study was conducted in 6 stages starting from the identification of needs to create materials to the evaluation of the effectiveness of the developed materials. The participants of 42 student monks and 3 English teachers were purposefully selected from the Education Department of Wat Phra Dhammakaya in academic year 2017. Instruments used were semi-structured interview, needs analysis questionnaires, and evaluation questionnaires. The qualitative data was analyzed by the content analysis. The statistics used to analyze the quantitative data were frequency, percentage, mean, and standard deviation. The findings revealed that the English content-based reading materials for Buddhist monks were effectively developed by using material development framework of Tomlinson (2011) embedded with Six-T’s approach of Stoller and Grabe (2017), and the quality was the academic and physical aspects and the effectiveness in enhancing reading comprehension. In terms of the quality of academic and physical aspects, student monks had positive attitude towards 6 criteria including content, organization of content, presentation of content, language use, activities applied, and layout and design, and teachers had positive attitude towards 7 criteria 6 of which were exactly the same as those of student monks plus the criterion of teachers’ manual. This study clearly demonstrated theoretical processes of developing instructional materials of good quality and could be an example research to illustrate the connection between instructional materials developing and English language learning research for teachers, materials developers, and researchers in the field.
Other Abstract: งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) พัฒนาสื่อการอ่านภาษาอังกฤษตามแนวการสอนแบบเน้นเนื้อหาสำหรับพระนิสิต 2) ศึกษาความคิดเห็นของพระนิสิตที่มีต่อคุณภาพสื่อการอ่านภาษาอังกฤษตามแนวการสอนแบบเน้นเนื้อหา 3) ศึกษาความคิดเห็นของครูผู้สอนที่มีต่อคุณภาพสื่อการอ่านภาษาอังกฤษตามแนวการสอนแบบเน้นเนื้อหา งานวิจัยนี้ประกอบด้วย 6 ขั้นตอน ตั้งแต่การระบุความต้องการในการพัฒนาสื่อการเรียนการสอนจนถึงการประเมินประสิทธิภาพ กลุ่มตัวอย่างในการวิจัย คือ พระนิสิตจำนวน 42 รูป และครูสอนภาษาอังกฤษจำนวน 3 คนจากสำนักการศึกษา วัดพระธรรมกาย ปีการศึกษา 2560 เครื่องมือที่ใช้ในการทดลอง ได้แก่ การสัมภาษณ์ แบบสอบถามความต้องการ และแบบประเมินผล ข้อมูลเชิงคุณภาพใช้การวิเคราะห์เนื้อหา สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณ ได้แก่ ค่าแจกแจงความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัยพบว่า สื่อการอ่านภาษาอังกฤษตามแนวการสอนแบบเน้นเนื้อหาสามารถพัฒนาอย่างมีประสิทธิภาพโดยใช้กรอบแนวคิดการพัฒนาสื่อการเรียนการสอนของ Tomlinson (2011) ผสานกับแนวคิดแบบ Six T’s ของ Stoller และ Grabe (2017) และพระนิสิตและครูผู้สอนมีความเห็นว่าคุณภาพของสื่อการอ่านภาษาอังกฤษตามแนวการสอนแบบเน้นเนื้อหา ประกอบด้วยคุณภาพด้านวิชาการและลักษณะทางกายภาพ และประสิทธิภาพในการเสริมสร้างความสามารถในการอ่านภาษาอังกฤษเพื่อความเข้าใจ ในส่วนคุณภาพด้านวิชาการและลักษณะทางกายภาพพระนิสิตมีความคิดเห็นที่ดีต่อเกณฑ์คุณภาพ 6 ประการ ได้แก่ เนื้อหา การจัดลำดับเนื้อหา การนำเสนอเนื้อหา ภาษา กิจกรรม การออกแบบรูปเล่ม ส่วนครูผู้สอนมีความคิดเห็นที่ดีต่อเกณฑ์คุณภาพ 7 ประการ ได้แก่ 6 เกณฑ์เช่นเดียวกับพระนิสิตและคู่มือครู งานวิจัยนี้ได้แสดงขั้นตอนเชิงทฤษฎีในการพัฒนาสื่อการเรียนการสอนให้มีคุณภาพอย่างชัดเจนและสามารถใช้เป็นตัวอย่างแก่ ครูผู้สอน ผู้พัฒนาสื่อ และนักวิจัยในเรื่องความเชื่อมโยงการพัฒนาสื่อการเรียนการสอนและงานวิจัยการสอนภาษาอังกฤษได้
Description: Thesis (M.Ed.)--Chulalongkorn University, 2017
Degree Name: Master of Education
Degree Level: Master's Degree
Degree Discipline: Teaching English as a Foreign Language
URI: http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/60105
URI: http://doi.org/10.58837/CHULA.THE.2017.533
metadata.dc.identifier.DOI: 10.58837/CHULA.THE.2017.533
Type: Thesis
Appears in Collections:Edu - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
5883428827.pdf10.61 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.