Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/60435
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorวนิดา จีนศาสตร์-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์-
dc.date.accessioned2018-10-08T09:17:32Z-
dc.date.available2018-10-08T09:17:32Z-
dc.date.issued2557-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/60435-
dc.description.abstractแหล่งกำเนิดมลพิษอากาศมีแนวโน้มเพิ่มมากขึ้น ทั้งจากกิจกรรมของมนุษย์และภัยพิบัติจากธรรมชาติ ทำให้ระดับมลพิษในสิ่งแวดล้อมอากาศสูงขึ้น ผู้วิเคราะห์และตัดสินใจดำเนินการด้านการจัดการสิ่งแวดล้อม จำเป็นต้องใช้ข้อมูลเกี่ยวกับมลพิษอากาศและผลกระทบสุขภาพ ในการวิจัยนี้เป็นการศึกษาผลของมลพิษทางอากาศต่อสุขภาพประชาชนในประเทศไทย โดยทำการศึกษาในพื้นที่ 3 แห่ง ได้แก่ ชุมชนเขตเมือง กรุงเทพมหานคร ที่มีปัญหามลพิษจากการจราจร เขตพื้นที่ภาคเหนือตอนบน ซึ่งได้รับมลพิษหลักจากไฟป่า และเขตพื้นที่ชายฝั่งตะวันออก ที่ได้รับมลพิษหลักจากอุตสาหกรรม ซึ่งพบว่า มลพิษอากาศที่มีปริมาณเพิ่มขึ้น ทำให้ประชาชนในพื้นที่รับสัมผัส มีอัตราการเสียชีวิต และอาการเจ็บป่วยด้วยโรคทางเดินหายใจเพิ่มขึ้น ข้อมูลจากการวิเคราะห์ความเสี่ยงถูกนำมารวบรวมประมวลผลในรูปแบบของระบบแผนที่ความเสี่ยงโดยใช้ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ เพื่อใช้ในการเฝ้าระวังและติดตามตรวจสอบผลกระทบในอนาคตต่อไปen_US
dc.description.abstractalternativeAs the air pollution sources are increasing from various anthropogenic activities and natural disaster which caused the rising of pollutions in the air environment. In the environmental management concerning, the decision makers require predictions relating to important issues concerning air quality and health. In this study, the assessment of environmental health effects to air pollutions from different sources, traffic, bush fire and industries were investigated. The study areas were Bangkok, north of Thailand and eastern of Thailand. The health risk assessments in the selected areas were identified and complied into the Hazard maps using application of air modeling and Geographic Information System. Hazard maps and risk analysis are the outcome for further health effect monitoring.en_US
dc.description.sponsorshipได้รับทุนอุดหนุนการวิจัยจากงบประมาณแผ่นดิน ประจำปี 2557 สัญญาเลขที่ GRB_APS_๒๐_๕๗_๒๓_๐๔en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectมลพิษทางอากาศen_US
dc.titleมลพิษทางอากาศและผลกระทบสุขภาพในพื้นที่ภัยพิบัติจากธรรมชาติและอุตสาหกรรมในประเทศไทย : รายงานการวิจัยฉบับสมบูรณ์en_US
dc.title.alternativeAir pollution and health effects in natural disaster and industrial areas in Thailanden_US
dc.typeTechnical Reporten_US
dc.email.authorWanida.J@Chula.ac.th-
Appears in Collections:Sci - Research Reports

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Wanida J_Res_2557.pdfFulltext7.09 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.