Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/61062
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวิโรจน์ วาทินพงศ์พันธ์-
dc.contributor.authorนวรัตน์ ชวนไชยสิทธิ์-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะนิติศาสตร์-
dc.date.accessioned2018-12-12T06:23:39Z-
dc.date.available2018-12-12T06:23:39Z-
dc.date.issued2560-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/61062-
dc.descriptionเอกัตศึกษา(ศศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2560en_US
dc.description.abstractเนื่องจากรูปแบบการจองที่พักหรือโรงแรมแบบออนไลน์ผ่านเว็บไซต์เป็นอีกช่องทางสำคัญทางหนึ่งให้ผู้บริโภคสามารถเลือกจองที่พักล่วงหน้าได้อย่างง่ายดายสะดวกรวดเร็วขึ้นและสามารถเลือกจองได้ในราคาถูก และรูปแบบการจองออนไลน์ผ่านเว็บไซต์ซึ่งถือเป็นตัวกลางในการดาเนินธุรกิจท่องเที่ยวรูปแบบนี้เกิดขึ้นเพิ่มขึ้นอย่างมากในปัจจุบัน ในขณะเดียวกันก็มีปัญหาเกิดขึ้นและทาให้ผู้ซื้อผู้บริโภคไม่ได้รับความคุ้มครองมากยิ่งขึ้นเช่นกัน โดยเฉพาะกรณีที่เกิดปัญหาในประเทศไทยจากการที่ผู้จองที่พักผ่านเว็บไซต์ของบริษัทผู้ประกอบการต่างชาติ ซึ่งเป็นนิติบุคคลต่างชาติจดทะเบียนอยู่ต่างประเทศ แม้จะมีการดาเนินธุรกิจมีสาขามีภูมิลาเนาประกอบธุรกิจในไทยก็ตาม แต่ผู้จองที่พักผ่านเว็บไซต์ต่างๆเหล่านั้น ไม่สามารถเข้าพักตามที่จองไว้ได้ และกฎหมายก็ยังไม่สามารถเอาผิดครอบคลุมบริษัทนิติบุคคลผู้ประกอบการต่างชาติได้ รวมถึงไม่สามรถตรวจสอบความมีตัวตนหรือการจดทะเบียนประกอบธุรกิจได้ เนื่องจากนิติบุคคลผู้ประกอบการต่างชาติไม่ปฏิบัติตามระบบการจดทะเบียนประกอบธุรกิจภายใต้กฎหมายไทย นอกจากนี้กฎหมายคุ้มครองผู้บริโภคยังไม่สามารถเรียกร้องให้ผู้ประกอบการต่างชาติรับผิด หรือไม่สามารถเรียกให้เยียวยาความเสียหายได้ จึงได้ทาการศึกษาเอกัตศึกษาฉบับนี้ เพื่อปรับแก้กฎหมายที่ใช้อยู่ปัจจุบันรวมถึงศึกษาหาแนวทางเพิ่มมาตรการเพื่อให้สามารถเรียกร้องให้ผู้ประกอบการเว็บไซต์ซึ่งมีสถานะทางกฎหมายเป็นตัวแทนทางการค้า และเป็นผู้ประกอบธุรกิจซึ่งอยู่ห่างโดยระยะทางหรือที่เรียกว่าผู้ประกอบธุรกิจตลาดแบบตรง รับผิดตามกฎหมาย และเพื่อให้มีการควบคุมตรวจสอบความมีตัวตนของบริษัทผู้ประกอบการเว็บไซต์จองที่พักออนไลน์ต่างๆ โดยเฉพาะกรณีที่เป็นผู้ประกอบการต่างชาติซึ่งมาประกอบธุรกิจในลักษณะเป็นตัวแทนทางการค้าในไทยและมีสำนักงานสาขาซึ่งถือเป็นภูลาเนาในไทยได้อย่างเข้มงวดมากขึ้น ซึ่งจะส่งผลให้การคุ้มครองผู้บริโภคจากการสารองจองที่พักผ่านเว็บไซต์ได้รับความคุ้มครองที่ดีขึ้น ดังนี้ การปรับแก้กฎหมายพระราชบัญญัติขายตรงและตลาดแบบตรง (ฉบับที่ 3) พ.ศ.2560 โดยการเพิ่มค่านิยามให้มีการระบุถึงผู้ประกอบธุรกิจตลาดแบบตรงให้มีความชัดเจนกินความถึงกรณีผู้ประกอบการต่างชาติที่มาตั้งสานักงานสาขาในไทยด้วย ประกอบกับเรื่องการควบคุมดูแลบริษัทผู้ประกอบการเว็บไซต์ที่เป็นต่างชาติประกอบธุรกิจในไทย นอกจากจะมีประกาศกระทรวงพาณิชย์ เรื่องให้ผู้ประกอบการพาณิชยกิจต้องจดทะเบียนพาณิชย์ภายใต้พระราชบัญญัติทะเบียนพาณิชย์ฉบับที่ใช้อยู่ปัจจุบันแล้วนั้น ก็ควรปรับแก้ ประกาศคณะกรรมการขายตรงและตลาดแบบตรง เรื่อง หลักเกณฑ์และวิธีการยื่นคาขอจดทะเบียนการประกอบธุรกิจขายตรงและการประกอบธุรกิจตลาดแบบตรง ภายใต้พระราชบัญญัติขายตรงและตลาดแบบตรง ในลักษณะคล้ายๆ ประกาศกระทรวงพาณิชย์ เรื่องให้ผู้ประกอบการพาณิชยกิจต้องจดทะเบียนพาณิชย์ที่กล่าวข้างต้น โดยอาจเพิ่มข้อความในประกาศคณะกรรมการขายตรงและตลาดแบบตรง เรื่อง หลักเกณฑ์และวิธีการยื่นคาขอจดทะเบียนการประกอบธุรกิจตลาดแบบตรง โดยให้ใช้บังคับครอบคลุมตีความถึงผู้ประกอบการen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.58837/CHULA.IS.2017.38-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectโรงแรมen_US
dc.subjectที่พักนักท่องเที่ยวen_US
dc.titleการคุ้มครองผู้บริโภคในการจองที่พักออนไลน์ : ศึกษากรณีการจองที่พักออนไลน์จากผู้ประกอบการซึ่งเป็นนิติบุคคลต่างประเทศen_US
dc.typeIndependent Studyen_US
dc.degree.nameศิลปศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineกฎหมายเศรษฐกิจen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.authorWirote.W@Chula.ac.th-
dc.subject.keywordธุรกิจท่องเที่ยวen_US
dc.subject.keywordจองที่พักออนไลน์en_US
dc.identifier.DOI10.58837/CHULA.IS.2017.38-
Appears in Collections:Law - Independent Studies

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
598 61951 34.pdf1.74 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.