Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/61087
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวิโรจน์ วาทินพงศ์พันธ์-
dc.contributor.authorวิทัต พรจะเด็ด-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะนิติศาสตร์-
dc.date.accessioned2018-12-24T04:24:31Z-
dc.date.available2018-12-24T04:24:31Z-
dc.date.issued2560-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/61087-
dc.descriptionเอกัตศึกษา(ศศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2560en_US
dc.description.abstractปัจจุบันประเทศไทยมีพระราชบัญญัติขายตรงและตลาดแบบตรง พ.ศ. 2545 แก้ไขเพิ่มเติม พ.ศ. 2550 และ พ.ศ. 2560 เพื่อกำกับดูแลการประกอบธุรกิจขายตรงและตลาดแบบตรงขึ้นเป็นการเฉพาะ โดยที่การเจริญเติบโตก้าวหน้าทางเทคโนโลยีการติดต่อสื่อสารอย่างมาก มีการเชื่อมโยงระหว่างบุคคลอย่างรวดเร็วมีการสาธิต ชักจูง เสนอผลประโยชน์โดยแอบแฝง ชักชวนให้เร่งตัดสินใจโดยเฉพาะการซื้อขายสินค้าทางออนไลน์อันเป็นการทำการตลาดเชิงรุกทาให้ผู้บริโภคอยู่ในภาระที่ไม่อาจตัดสินใจได้อย่างรอบคอบ กฎหมายขายตรงจึงเปิดโอกาสให้ผู้บริโภคมีสิทธิเลิกสัญญาโดยการส่งหนังสือแสดงเจตนาภายในเวลา 7 วัน แต่ผู้ศึกษาพบว่า ยังไม่มีความชัดเจนของการใช้สิทธิเลิกสัญญาในเรื่องเกี่ยวกับขอบเขตระยะเวลาว่าจะรวมถึงวันหยุดต่าง ๆ หรือไม่ การรับคืนผลิตภัณฑ์และการคืนเงินมีข้อยกเว้นในประเภท ราคา ชนิด ของสินค้าและบริการหรือไม่ จะมีวิธีการเพิ่มทางเลือกในการใช้สิทธิเลิกสัญญาเพื่อการคุ้มครองผู้บริโภคให้ดียิ่งขึ้นได้อย่างไร จากผลการศึกษากฎหมายขายตรงต่างประเทศ 6 ประเทศเปรียบเทียบกับประเทศไทยพบว่าการรับคืนผลิตภัณฑ์มีการกำหนดเพิ่มทางเลือกการส่งคืนผลิตภัณฑ์ได้ด้วยตนเองไม่ต้องรอผู้ประกอบการร้องขอด้วยการส่งสินค้าทางไปรษณีย์โดยวิธีการลงทะเบียนและให้ถือเอาวันที่และเวลาประทับตราไปรษณีย์โดยมีหลักฐานใบเสร็จรับเงินเป็นการใช้สิทธิเลิกสัญญาซึ่งสามารถแก้ปัญหาการติดต่อผู้จาหน่ายอิสระหรือตัวแทนขายตรงไม่ได้ ส่วนระยะเวลาการใช้สิทธิเลิกสัญญาพบว่าในหลายประเทศมีการกำหนดขอบเขตที่ชัดเจนเพิ่มเติมคือไม่เพียงแค่ระบุจำนวนวัน เช่น ถ้าระยะเวลาหมดในวันหยุดกำหนดเวลาจะขยายจนถึงวันทำการถัดไป หรือจนถึงเที่ยงคืน หรือไม่รวมวันเสาร์อาทิตย์และวันหยุดเนื่องจากผู้บริโภคมักไม่ทราบวิธีการนับเวลาตามกฎหมายทั่วไป ในส่วนข้อยกเว้นการใช้สิทธิเลิกสัญญาพบว่ากฎหมายต่างประเทศกำหนดข้อยกเว้นไว้ได้แก่ สินค้าหรือบริการประเภทที่เสียหาย เสื่อมค่าโดยง่าย สินค้าหรือบริการประเภทดิจิทัล ซอฟต์แวร์คอมพิวเตอร์ต่าง ๆ สินค้าประเภทที่เกี่ยวข้องกับเหตุผลด้านอนามัยเฉพาะบุคคล และสินค้าหรือบริการที่มีมูลค่าน้อยกว่า 775 บาท เป็นต้นen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.58837/CHULA.IS.2017.14-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectการขายตรงen_US
dc.subjectธุรกิจขายตรงen_US
dc.titleการใช้สิทธิเลิกสัญญาในธุรกิจขายตรงและตลาดแบบตรงen_US
dc.typeIndependent Studyen_US
dc.degree.nameศิลปศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineกฎหมายเศรษฐกิจen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorWirote.W@Chula.ac.th-
dc.subject.keywordการตลาดเชิงรุกen_US
dc.subject.keywordสินค้าออนไลน์en_US
dc.identifier.DOI10.58837/CHULA.IS.2017.14-
Appears in Collections:Law - Independent Studies

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
598 62488 34.pdf1.23 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.