Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/6110
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorนิศาชล ตั้งเสงี่ยมวิสัย-
dc.contributor.authorปริญญา หลวงพิทักษ์ชุมพล-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะแพทยศาสตร์-
dc.date.accessioned2008-02-29T02:42:50Z-
dc.date.available2008-02-29T02:42:50Z-
dc.date.issued2549-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/6110-
dc.description.abstractเครื่องช่วยฟังเป็นอุปกรณ์ไฟฟ้าที่ถูกนำมาใช้งานเพื่อให้ผู้สูญเสียการได้ยินสามารถได้ยินสัญญาณเสียงออกที่มีความดังมากขึ้น อย่างไรก็ตาม การใช้ค่าอัตราขยายแบบคงที่ในเครื่องช่วยฟังแบบเดิม (Conventional Hearing Aids) ไม่สามารถตอบสนองต่อความต้องการของผู้สูญเสียการได้ยินโดยส่วนมากที่มีระดับการสูญเสียการได้ยินไม่เท่ากันในแต่ละช่วงความถี่ได้ นอกจากนี้ ค่าอัตราขยายของเครื่องช่วยฟังจะถูกจำกัดไว้เพื่อไม่ให้เกิดเสียงหวีดรบกวนผู้ใช้เครื่องช่วยฟังเมื่อมีสัญญาณเสียงป้อนกลับดังนั้น ระบบการกำจัดเสียงป้อนกลับ (Acoustic Feedback Cancellation System) ที่มีประสิทธิภาพจึงเป็นส่วนสำคัญในการออกแบบเครื่องช่วยฟังที่มีสมารรถนะสูง การใช้งานของเครื่องช่วยฟังแบบบีบอัดหลายช่วงความถี่ย่อย (Multi-band Compression Hearing Aids) จะสามารถตอบสนองต่อระดับการสูญเสียการได้ยินของผู้สูญเสียการได้ยินได้อย่างเหมาะสมมากกว่าเครื่องช่วยฟังแบบเดิม โครงการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา และค้นหาจำนวนช่วงความถี่ย่อยที่เหมาะสมที่สุดในการเพิ่มประสิทธิภาพการกำจัดเสียงป้อนกลับของเครื่องช่วยฟัง ในเชิงวัตถุวิสัย (Objective) นอกจากนี้ ยังคำนึงถึงพิสัยพลวัตของสัญญาณเสียงออกของเครื่องช่วยฟัง ที่สอดคล้องกับลักษณะการสูญเสียการได้ยินของผู้สูญเสียการได้ยินตัวอย่าง 12 คนจากโรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ ผลการจำลองระบบบนคอมพิวเตอร์เมื่อใช้สัญญาณเสียงพูดเป็นสัญญาณเข้าของเครื่องช่วยฟังนั้น สนับสนุนประสิทธิภาพของเครื่องช่วยฟังแบบบีบอัดหลายช่วงความถี่ย่อยที่ศึกษาในโครงการวิจัยนี้en
dc.description.abstractalternativeHearing-aid devices are normally employed to compensate for hearing loss in hearing-impaired people. However, conventional hearing aids, where all sounds at different frequencies are amplified with the same amount of gain, cannot properly compensate for the hearing loss characteristics that are normally frequency-dependent. In addition, the acoustic feedback problem, which is perceived as howling by the hearing-aids users and interferes with the conversation, limits the possible maximum gain of the devices. The Acoustic Feedback Cancellation (AFC) system is therefore necessary to eliminate the acoustic feedback signal. The use of Multi-band Compression Hearing Aids (MCHA) is therefore considered to be more appropriate for hearing loss compensation than the conventional ones. This project aims to find the most suitable number of bands so that significant improvement in the performance of the AFC system is obtained in objective manner. Moreover, the dynamic range of the hearing-aid output signal should correspond to the hearing loss characteristics of 12 patients obtained form King Chulalongkorn Memorial hospital. Computer simulations based on real speech signals demonstrate the effectiveness of the investigated systems.en
dc.description.sponsorshipทุุนวิจัยกองทุนรัชดาภิเษกสมโภชen
dc.format.extent2145260 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectเครื่องช่วยการได้ยินen
dc.subjectการบีบอัดสัญญาณเสียงสะท้อน (โทรคมนาคม)en
dc.titleการพัฒนาแก้ไขปัญหา loudness recruitments ในเครื่องช่วยฟัง โดยใช้การบีบอัดไม่เชิงเส้น : รายงานผลการวิจัยen
dc.title.alternativeOn the improvement of loundness recruitment in hearing aids using non-linear compressionen
dc.typeTechnical Reportes
dc.email.authorNisachon.T@chula.ac.th, Nisachon.T@cc.eng.chula.ac.th-
dc.email.authorไม่มีข้อมูล-
Appears in Collections:Eng - Research Reports

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Nisachon.pdf2.09 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.