Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/61319
Title: Steady-state determination of continuous powder mixing by near infrared spectroscopy as process analytical technology
Other Titles: การตรวจหาสภาวะคงที่ของการผสมผงแบบต่อเนื่องด้วยเนียร์อินฟราเรดสเปกโทรสโกปีสำหรับเป็นเทคโนโลยีการวิเคราะห์กระบวนการ
Authors: Katesaraporn Wongves
Advisors: Narueporn Sutanthavibul
Jittima Chatchawalsaisin
Other author: Chulalongkorn University. Faculty of Pharmaceutical Sciences
Advisor's Email: Narueporn.S@Chula.ac.th
Jittima.C@Chula.ac.th
Subjects: Near infrared spectroscopy
Least squares
Pharmaceutical arithmatic
เนียร์อินฟราเรดสเปกโทรสโกปี
วิธีกำลังสองน้อยที่สุด
การคำนวณทางเภสัชกรรม
Issue Date: 2018
Publisher: Chulalongkorn University
Abstract: Powder mixing is one of an important unit operation in pharmaceutical manufacturing of solid dosage forms.  Continuous mixing was developed as an alternative method to reduce disadvantages of traditional batch mixing processes.  This process was originally developed using horizontal cylindrical mixer equipped with Process Analytical Technology (PAT) tools for real-time monitoring.  In the present study, a vertical cylindrical mixer was developed and evaluated.  Near Infrared (NIR) spectra obtained by monitoring the mixing process were pretreated with Multiplicative Scatter Correction (MSC), second derivative treatment and Norris-William smoothing in the 6800 - 8700 cm-1 range before a calibration model using PLS was developed using X-ray powder diffractometry (XRPD) as a primary method.  Concentrations of mixtures in steady-state and mixing phases were identified after changing impeller alignments (aligned and opposite) and distances between impellers (0.5 and 1.0 inch).  Blend quality was found to be affected by both the impeller alignment and impeller distance.  Steady-state phases, onset time, mixing performance, measurement robustness and accuracy of final mixture concentrations were evaluated.  It was found that aligned impeller with 0.5-inch distance shows the best mixing set-up leading to higher mixture homogeneity.  However, onset time to reach steady-state was compromised.
Other Abstract: การผสมแบบผงแห้งเป็นหนึ่งในหน่วยการผลิตที่สำคัญในการผลิตเภสัชภัณฑ์ในรูปแบบของแข็ง  การผสมแบบต่อเนื่องเป็นวิธีที่ได้ถูกพัฒนาขึ้นเพื่อลดข้อเสียที่เกิดจากกระบวนการผสมในปัจจุบัน  กระบวนการผสมแบบต่อเนื่องมักจะพัฒนาโดยใช้เครื่องผสมในแนวนอนและมีการติดตามกระบวนการแบบเวลาจริงโดยใช้เครื่องมือเทคโนโลยีการวิเคราะห์กระบวนการ (พีเอที) งานวิจัยนี้ได้มีการพัฒนาและประเมินเครื่องผสมในแนวตั้ง  โดยข้อมูลเนียร์อินฟราเรดสเปกตรัมที่ได้จากการติดตามกระบวนการผสมในช่วงคลื่น 6800 - 8700 cm-1 จะถูกนำมาปรับแต่งด้วยวิธีการปรับแก้การกระเจิงแบบผลคูณ (เอ็มเอสซี) อนุพันธ์ลำดับที่สอง และปรับเรียบข้อมูลด้วยวิธีนอร์ริส-วิลเลียม ก่อนจะนำไปสร้างเป็นสมการด้วยวิธีกำลังสองน้อยที่สุดบางส่วน (พีแอลเอส) โดยใช้การวิเคราะห์ด้วยการเบี่ยงเบนรังสีเอกซ์ (เอกซ์อาร์ดี) เป็นวิธีปฐมภูมิ  ได้มีการติดตามความเข้มข้นของสารผสมในช่วงสภาวะคงที่และรูปแบบของการผสมหลังจากมีการปรับเปลี่ยนวิธีการจัดเรียงใบพัด (ทิศทางเดียวกันและสลับ) และระยะห่างระหว่างใบพัด (0.5 และ 1.0 นิ้ว) จากการศึกษาพบว่าวิธีการจัดเรียงใบพัดและระยะห่างระหว่างใบพัดส่งผลกระทบต่อคุณภาพของการผสม มีการประเมินสภาวะคงที่ของการผสม ระยะเวลาเริ่มต้นที่เข้าสู่สภาวะคงที่ ประสิทธิภาพในการผสม วิธีการวัดที่ไม่ไวต่อการเปลี่ยนแปลง และ ความแม่นยำของความเข้มข้นของสารผสมสุดท้าย พบว่าการจัดเรียงใบพัดทิศทางเดียวกันที่ระยะห่างระหว่างใบพัด 0.5 นิ้วส่งผลให้เกิดความสม่ำเสมอของการผสมที่สูงขึ้น แต่อย่างไรก็ตามจะส่งผลในเชิงลบต่อระยะเวลาในการเข้าสู่สภาวะคงที่
Description: Thesis (M.Sc. in Pharmacy)--Chulalongkorn University, 2018
Degree Name: Master of Science in Pharmacy
Degree Level: Master's Degree
Degree Discipline: Industrial Pharmacy
URI: http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/61319
URI: http://doi.org/10.58837/CHULA.THE.2018.293
metadata.dc.identifier.DOI: 10.58837/CHULA.THE.2018.293
Type: Thesis
Appears in Collections:Pharm - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
5876102033.pdf5.1 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.