Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/61512
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorนุตา ศุภคต-
dc.contributor.advisorวรพจน์ กนกกันฑพงษ์-
dc.contributor.authorจรรยา พันธมา-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์-
dc.date.accessioned2019-02-26T13:52:50Z-
dc.date.available2019-02-26T13:52:50Z-
dc.date.issued2559-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/61512-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2559-
dc.description.abstractงานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการผลิตอิฐคอนกรีตจากเปลือกหอยแครงและเปลือกหอยแมลงภู่ ผสมกับขยะซีเมนต์ร่วมกับเศษแก้วและประเมินวัฏจักรชีวิตผลิตภัณฑ์ โดยใช้อัตราส่วนน้ำต่อปูนซีเมนต์ต่อทรายเท่ากับ 11.11 : 22.22 : 66.67 เมื่อแทนที่ปูนซีเมนต์ด้วยขยะซีเมนต์ พบว่าเมื่อปริมาณขยะซีเมนต์เพิ่มขึ้นทำให้ค่าความต้านทานแรงอัดลดลงและค่าการดูดกลืนน้ำเพิ่มขึ้น อัตราส่วนปูนซีเมนต์ต่อขยะซีเมนต์ที่เหมาะสมคือ 20 : 2.22  มีค่าความต้านทานแรงอัด 8.08 MPa และค่าการดูดกลืนน้ำร้อยละ 7.88 จากนั้นแทนที่ปูนซีเมนต์ปอร์ตแลนด์และขยะซีเมนต์ด้วยเปลือกหอยแครงและหอยแมลงภู่ พบว่าเมื่อปริมาณเปลือกหอยเพิ่มขึ้น ทำให้ค่าความต้านทานแรงอัดลดลงและค่าการดูดกลืนน้ำเพิ่มขึ้น อัตราส่วนปูนซีเมนต์ ขยะซีเมนต์และเปลือกหอย (หอยแครงและหอยแมลงภู่) ที่เหมาะสมเท่ากับ 19 : 2.11 : 1.11  โดยค่าความต้านทานแรงอัดและร้อยละการดูดกลืนน้ำของอิฐคอนกรีตผสมกับหอยแครงและหอยแมลงภู่เท่ากับ 6.41 MPa และ 7.44% กับ 6.30 MPa และ 7.91% ตามลำดับ  นอกจากนั้นทำการแทนที่ทรายหยาบด้วยเศษแก้ว พบว่าเมื่อปริมาณเศษแก้วเพิ่มขึ้นค่าความต้านทานแรงอัดและการดูดกลืนน้ำลดลงเท่ากับ อัตราส่วนที่ดีที่สุดเหมาะสมสำหรับนำวัสดุเหลือทิ้งไปผลิตเป็นอิฐคอนกรีตตามาตรฐานอุตสาหกรรมคอนกรีตบล็อกรับน้ำหนักชั้นคุณภาพ ค คือ ปูนซีเมนต์ : ขยะซีเมนต์ : เปลือกหอย (หอยแครงหรือหอยแมลงภู่) : ทราบหยาบ : เศษแก้ว : น้ำ เท่ากับ 19 : 2.11 : 1.11 : 56.67 : 10 : 11.11 จากนั้นจึงนำไปประเมินวัฏจักรชีวิตอิฐคอนกรีต หน่วยหน้าที่เท่ากับ 100 กิโลกรัมคอนกรีต พบว่าผลกระทบด้านการก่อให้เกิดภาวะโลกร้อน (Global Warming) ให้ผลกระทบมากต่อสิ่งแวดล้อมที่สุดเท่ากับ 44.05 kg CO2 eq-
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this research were to study the properties of concrete bricks produced from green mussel and cockle seashell mixed with cement waste and waste glass and to evaluate the life cycle assessment of concrete bricks. In producing bricks, water, cement and sand were mixed into ratio of 11.11 : 22.22 : 66.67. By replacing cement with cement waste, it was found that compressive strength was decreased and water absorption was increased when increasing cement waste. The optimum ratio of cement and cement waste was 20 : 2.22  by weight obtaining 8.08 MPa of compressive strength and 7.88% of water absorption. In replacing cement and cement waste by seashell (cockle seashell and green mussel seashell), the result showed that addition of seashell content decreased compressive strength and increased water absorption of the bricks. The optimum mixtures of cement : cement waste : seashell was 19 : 2.11 : 1.11  by weight. Compressive strength and water absorption of bricks produced from cockle seashell was 6.41 MPa and 7.44% and from green mussel seashell were 6.30 MPa and 7.91% respectively. In addition, replacing sand by waste glass, the results revealed that compressive strength and water absorption was decreased when increasing waste glass. In conclusion, the optimum ratio of cement : cement waste : seashell (cockle seashell or green mussel seashell) : sand : water was 19 : 2.11 : 1.11 : 56.67 : 10 : 11.11  by weight. Then, the life cycle assessment was used to analyse functional unit (100 kg) of optimum ratio of concrete bricks. The result showed that the major impact was global warming with the value of 44.05 kg CO2 eq.-
dc.language.isoth-
dc.publisherChulalongkorn University-
dc.relation.urihttp://doi.org/10.58837/CHULA.THE.2016.57-
dc.rightsChulalongkorn University-
dc.subjectอิฐ-
dc.subjectการก่อสร้างคอนกรีต-
dc.subjectเปลือกหอย-
dc.subjectเศษแก้ว-
dc.subjectBricks-
dc.subjectConcrete products-
dc.subjectShells-
dc.subjectGlass waste-
dc.subject.classificationEnvironmental Science-
dc.titleการประยุกต์เปลือกหอยแมลงภู่และหอยแครงผสมกับเศษแก้วและขยะซีเมนต์เพื่อผลิตอิฐคอนกรีต-
dc.title.alternativeApplication of green mussel and cockle seashells mixed with waste glass and cement waste to produce concrete bricks-
dc.typeThesis-
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต-
dc.degree.levelปริญญาโท-
dc.degree.disciplineเทคโนโลยีชีวภาพ-
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
dc.subject.keywordCONCRETE BRICKS-
dc.subject.keywordGREEN MUSSEL SEASHELL-
dc.subject.keywordCOCKLE SEASHELL-
dc.subject.keywordWASTE GLASS-
dc.identifier.DOI10.58837/CHULA.THE.2016.57-
Appears in Collections:Sci - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
5772258523.pdf4.72 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.