Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/6333
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorกิดานันท์ มลิทอง-
dc.contributor.authorบุษกร เชี่ยวจินดากานต์-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะครุศาสตร์-
dc.date.accessioned2008-03-21T06:25:55Z-
dc.date.available2008-03-21T06:25:55Z-
dc.date.issued2548-
dc.identifier.isbn9745329436-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/6333-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2548en
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของการจัดกิจกรรมแก้ปัญหาตามกระบวนการทางวิทยาศาสตร์โดยใข้การศึกษานอกสถานที่เสมือน ที่มีต่อการแก้ปัญหาสิ่งแวดล้อมของนักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนต้น กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้เป็นนักเรียนระดับมัธยมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนสาธิตแห่งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ศูนย์วิจัยและพัฒนาการศึกษา ที่กำลังศึกษาอยู่ในภาคการศึกษาที่ 2 ปีการศึกษา 2548 จำนวน 41 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้คือ กิจกรรมการแก้ปัญหาตามกระบวนการทางวิทยาศาสตร์โดยใช้การศึกษานอกสถานที่เสมือน และ แบบทดสอบวัดความสามารถในการแก้ปัญหาสิ่งแวดล้อม วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติ ค่าเฉลี่ยเลขคณิต ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสถิติทดสอบ ค่าที่ (t-test)ที่ระดับนัยสำคัญทางสถิติ.05 ผลการวิจัยพบว่า ผู้เรียนที่เรียนด้วยกิจกรรมการแก้ปัญหาตามกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ โดยใช้าการศึกษานอกสถานที่เสมือน เรื่องการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติ มีความสามารถในการแก้ปัญหาสิ่งแวดล้อม สูงขึ้นอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05en
dc.description.abstractalternativeThe purpose of this research was to study the effects of using virtual field trips in scientific problem solving activity management upon environment problem solving of lower secondary school students. The Samples of the study were forty-one students of Masthayom suksa two from Kasetsart University Demonstration School in second semester of 2005 academic year with scientific problem solving activity by using virtual field trip and environmental problem solving ability test . The collected data were analyzed by means, standard deviation and using t-test at. 05 level. The result of this reserch was that the students who learn scientific problem solving activity management by virtual field trips had higher environment problem solving scores than at .05 level of significance.en
dc.format.extent2859796 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์์มหาวิทยาลัยen
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2005.673-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectการศึกษาขั้นมัธยมศึกษาen
dc.subjectการเรียนที่ใช้ปัญหาเป็นฐาน -- การศึกษาและการสอนen
dc.subjectปัญหาสิ่งแวดล้อมen
dc.subjectการศึกษานอกสถานที่en
dc.titleผลของการจัดกิจกรรมการแก้ปัญหาตามกระบวนการทางวิทยาศาสตร์โดยใช้การศึกษานอกสถานที่เสมือน ที่มีต่อการแก้ปัญหาสิ่งแวดล้อมของนักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนต้นen
dc.title.alternativeEffects of using virtual field trips in scientific problem solving activity management upon environment problem solving of lower secondary school studentsen
dc.typeThesises
dc.degree.nameครุศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineโสตทัศนศึกษาes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorKidanand.M@chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2005.673-
Appears in Collections:Edu - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
bussakorn.pdf2.79 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.