Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/64100
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorอภิสิทธิ์ ซาลำ-
dc.contributor.authorยอดมนัส เกิดบัว-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์-
dc.date.accessioned2019-12-19T03:18:27Z-
dc.date.available2019-12-19T03:18:27Z-
dc.date.issued2560-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/64100-
dc.descriptionโครงงานเป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาธรณีวิทยา. คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีการศึกษา 2560en_US
dc.description.abstractการศึกษาธรณีเคมีของหินท้องที่ หินทิ้ง และตะกอนในพื้นที่เหมืองดีบุกเก่า ตำบลปิล๊อก จังหวัดกาญจนบุรี ประกอบไปด้วยตัวอย่าง 3 ประเภท คือ หินท้องที่ หินทิ้ง และตะกอนดิน และนาไป ทดลองการชะละลายด้วยวิธี Synthetic Precipitation Leaching Procedure (SPLP) ที่พีเอช 4 แล้ว นำไปวิเคราะห์หาธาตุโลหะหนักด้วยเครื่อง Inductively Coupled Plasma Mass Spectrometry (ICP-MS) พบว่า ค่าความเข้มข้นโดยเฉลี่ยของหินที่เลือกนำไปวิเคราะห์ทั้ง 13 ตัวอย่าง โดยแบ่งเป็นหิน ท้องที่ 4 ตัวอย่าง หินทิ้ง 3 ตัวอย่าง และตะกอน 6 ตัวอย่าง จากผลการตรวจหาปริมาณโลหะหนักด้วย เครื่อง ICP-MS ทำให้เราทราบว่า หินท้องที่พบธาตุโลหะหนักที่เกินค่ามาตรฐาน คือ As ของตัวอย่าง PL-01, PL-04, PL-05, PL-06 ที่มีค่าเกินมาตรฐานคุณภาพน้ำในแหล่งน้ำผิวดิน หินทิ้งที่พบธาตุโลหะ หนักที่เกินค่ามาตรฐาน คือ As ของตัวอย่าง PL-10, PL-13, PL-15 ที่มีค่าเกินมาตรฐานคุณภาพน้ำใน แหล่งน้ำผิวดิน และ ตัวอย่าง PL-13 ที่มีค่าเกินมาตรฐานคุณภาพน้ำทิ้งจากโรงงานอุตสาหกรรมและ นิคมอุตสาหกรรม ตะกอนทางน้ำพบธาตุโลหะหนักที่เกินค่ามาตรฐาน คือ As ของตัวอย่าง PL-08, PL- 09, PL-12, PL-17, PL-18, PL-19 ที่มีค่าเกินมาตรฐานคุณภาพน้ำในแหล่งน้ำผิวดิน ดังนั้นควรเฝ้าระวัง โลหะหนักที่เกินค่ามาตรฐานที่ได้กล่าวไว้เบื้องต้น และสามารถจัดเก็บดูแล หินท้องที่ หินทิ้ง และตะกอน ตามลำดับได้อย่างถูกต้อง อย่างไรก็ตามโครงงานวิจัยนี้สามารถนำไปสู่การวางแผนการจัดการจัดเก็บ หินท้องที่ หินทิ้ง และตะกอน ที่สมัยก่อนได้จากการทำเหมืองและไม่มีการจัดเก็บที่ดีพอ เพื่อในอนาคตมี การวางแผนการจัดการกับปัญหาดังกล่าวที่จะตามมาอาจจะส่งผลต่อชุมชนและสิ่งแวดล้อมบริเวณรอบ เหมืองเก่าen_US
dc.description.abstractalternativeThe study on the geochemistry of host-rocks, waste-rocks and sediments in abundanced tin mine, Pilok Subdistrict, Kanchanaburi Province. There are three types of examples is volcanic rock, waste rock, and steam sediments. Experimental leaching with Synthetic Precipitation Leaching Procedure (SPLP) method at pH 4. Analysis of heavy metals by Inductively Coupled Plasma Mass Spectrometry (ICP-MS), It was found that the average concentration of the selected rocks was analyzed for 13 samples, volcanic rock 4 samples waste rock 3 samples and steam sediments 6 samples. The results of the heavy metal detection with the ICP-MS, we know volcanic rock is as in samples PL-01, PL-04, PL-05 and PL-06 more than the Surface Water Quality Standards. Waste rock is as in samples PL-10, PL-13 and PL-15 more than the Surface Water Quality Standards include and sample PL-03 more than the industrial effluent standards. Steam sediments is as in samples PL-08, PL-09, PL-12, PL-17, PL-18, and PL-19 more than the Surface Water Quality Standards. Therefore, heavy metals should be monitored beyond the stated standard and volcanic rock, waste rock, and steam sediments store properly. This research project can lead to the planning of storage management volcanic rock, waste rock, and steam sediments. In the future, there are plans to deal with such problems that may affect the community and environment around the old mine.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectธรณีเคมี -- ไทย -- กาญจบุรีen_US
dc.subjectเหมืองและการทำเหมืองแร่ดีบุก -- ไทย -- กาญจบุรีen_US
dc.subjectหิน -- การวิเคราะห์en_US
dc.subjectGeochemistry -- Thailand -- Kanchanaburien_US
dc.subjectTin mines and mining -- Thailand -- Kanchanaburien_US
dc.subjectRocks -- Analysisen_US
dc.titleธรณีเคมีของหินท้องที่ หินทิ้ง และตะกอนในพื้นที่เหมืองดีบุกเก่า ตำบลปิล๊อก จังหวัดกาญจนบุรีen_US
dc.title.alternativeGeochemistry of host-rocks, waste-rock and sediments in Abandanced Tin mine, Pilok subdistrict, Kanchanaburi provinceen_US
dc.typeSenior Projecten_US
dc.email.advisorAbhisit.A@chula.ac.th-
Appears in Collections:Sci - Senior Projects

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Senipr_project_Yodmanas Kerdbouy.pdf1.64 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.