Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/64136
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorเก็จวลี พฤกษาทร-
dc.contributor.advisorมะลิ หุ่นสม-
dc.contributor.authorชัยเกษม ศิริสุขพงศา-
dc.contributor.authorปิยพร โสเจยยะ-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์-
dc.date.accessioned2020-02-07T07:12:06Z-
dc.date.available2020-02-07T07:12:06Z-
dc.date.issued2561-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/64136-
dc.descriptionโครงงานเป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาเคมีวิศวกรรม คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีการศึกษา 2561en_US
dc.description.abstractงานวิจัยนี้ศึกษาการปรับปรุงสมบัติเชิงแสงของไทเทเนียมไดออกไซด์ด้วยความร้อนเพื่อใช้ในการบำบัดน้ำเสียจากกระบวนการผลิตไบโอดีเซล ตัวแปรที่ศึกษาคือบรรยากาศของการปรับปรุงสมบัติ (ไฮโดรเจนไนโตรเจน และ ฮีเลียม) และอุณหภูมิที่ใช้ในการปรับปรุงสมบัติ (500 และ 800 องศาเซลเซียส) พบว่าการปรับปรุงสมบัติด้วยความร้อนที่อุณหภูมิ 500 องเศาเซลเซียส ในทุกบรรยากาศ ไม่ส่งผลต่อการเปลี่ยนวัฎภาคของไทเทเนียมไดออกไซด์ ช่องว่างแถบพลังงาน และขนาดผลึก แต่การปรับปรุงสมบัติด้วยความร้อนที่อุณหภูมิ 800 องศาเซลเซียส ส่งผลต่อการเปลี่ยนวัฎภาค ขนาดผลึก แถบช่องว่างพลังงาน และความสามารถในการดูดกลืนแสงในช่วงที่ตามองเห็น โดยเฉพาะการปรับปรุงสมบัติภายใตบรรยากาศของแก๊สไฮโดรเจน เมื่อนำตัวเร่งปฏิกิริยาที่เตรียมได้มาบำบัดน้ำเสียจากกระบวนการผลิตไบโอดีเซล พบว่าสมบัติของตัวเร่งปฏิกิริยาภายหลังการปรับปรุงสมบัติเชิงแสงด้วยความร้อนนั้นส่งผลต่อประสิทธิภาพในการบำบัดน้ำเสีย โดยการบำบัดน้ำเสียด้วยตัวเร่งปฏิกิริยา H2-800 มีประสิทธิภาพดีที่สุด ที่ร้อยละการลดลงของค่าซีโอดีเท่ากับ 74.47en_US
dc.description.abstractalternativeThis work aims to improve the visible light absorption property of titanium dioxide by thermal treatment process for treating biodiesel wastewater. The investigation parameters were treatment environment (H₂, N₂, and He) and treatment temperature (500 and 800 °C). It was found that the treatment temperature of 500 °C did not significantly affect the phase composition, band gap energy and crystallite size of titanium dioxide. However, the treatment temperature of 800 °C importantly affect its phase composition, band gap energy, crystallite size and visible light absorption property particularly in H2 environment. The thermal-treated catalysts were then used to treat biodiesel wastewater. It was found that the properties of the thermal-treated catalysts affect the performance of photocatalysts for the biodiesel wastewater treatment. The titanium dioxide treated in H2 at 800 °C (H2-800) can achieve the highest COD reduction of 74.47%.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectน้ำเสีย -- การบำบัด -- การกำจัดน้ำมันen_US
dc.subjectน้ำเสีย -- การบำบัด -- ออกซิเดชันen_US
dc.subjectSewage -- Purification -- Oil removalen_US
dc.subjectSewage -- Purification -- Oxidationen_US
dc.titleการบำบัดน้ำเสียจากการผลิตไบโอดีเซลด้วยกระบวนการออกซิเดชัน ด้วยตัวเร่งปฏิกิริยาไทเทเนียมไดออกไซด์ที่ผ่านการปรับสภาพด้วยความร้อนen_US
dc.title.alternativeBiodiesel wastewater treatment by photocatalytic oxidation via thermal-treated TIO2 photocatalysten_US
dc.typeSenior Projecten_US
dc.email.advisorKejvalee.P@Chula.ac.th-
dc.email.advisorMali.H@Chula.ac.th-
Appears in Collections:Sci - Senior Projects

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Chaikasem_S_Se_2561.pdf2.62 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.