Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/64207
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorอนวัช อาชวาคม-
dc.contributor.authorฐิติรัตน์ กมลทิพย์วงศ์-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์-
dc.date.accessioned2020-02-20T01:25:55Z-
dc.date.available2020-02-20T01:25:55Z-
dc.date.issued2561-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/64207-
dc.descriptionโครงงานเป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีการศึกษา 2561en_US
dc.description.abstractในปัจจุบันสิ่งแวดล้อมมีโลหะปนเปื้อนเป็นจำนวนมาก เช่น ปรอท อาร์เซนิก ทองคำ เป็นต้น ผู้วิจัยจึงพัฒนาวิธีในการตรวจวัดโลหะเหล่านี้ โดยสังเคราะห์สารอนุพันธ์ 1,4-dihydropyridine (DHP) ที่มีหมู่แทนที่บนไนโตรเจนอะตอมที่แตกต่างกัน ได้แก่ DHP-SH และ Bis-DHP-SS ซึ่ง DHP-SH สังเคราะห์จาก 2-aminoethanethiol และ Bis-DHP-SS สังเคราะห์จาก DHP-OTs จากการทดลองผู้วิจัยสามารถพิสูจน์ทราบโครงสร้างได้โดย ¹H NMR และ MSอนุพันธ์ DHP ที่สังเคราะห์ได้มีคุณสมบัติการดูดกลืนและเปล่งแสงแบบฟลูออเรสเซนต์ที่ความยาวคลื่น 360 nm และ 450 nm ตามลำดับ นอกจากนี้อนุพันธ์ DHP ทั้งสองชนิดดับสัญญาณฟลูออเรสเซนต์กับ Au³⁺ ในสารละลายน้ำ โดย DHP-SH และ Bis-DHP-SS กับ Au³⁺ จะเกิดการดับสัญญาณการเรืองแสงอย่างสมบูรณ์เมื่อเวลาผ่านไป 20 และ 60 นาที ตามลำดับ และได้นำ Bis-DHP-SS มาทดสอบการเป็นเซนเซอร์ตรวจวัดปริมาณ Au³⁺ ในสารละลาย พบความสัมพันธ์เชิงเส้นตรงระหว่างความเข้มของแสงฟลูออเรสเซนต์กับความเข้มข้นของ Au³⁺ ในช่วง 10-50 μM ซึ่งให้ค่า LOD เท่ากับ 7.71 μM การพัฒนาการสังเคราะห์นาโนคอมโพสิตและนำไปทดสอบการตรวจวัดโลหะไอออนของระบบนาโนพาร์ติเคิลกับ DHP-SH กำลังอยู่ระหว่างการดำเนินการen_US
dc.description.abstractalternativeNowadays, the environment has been contaminated by many heavy metal ions such as mercury, arsenic, gold. Therefore, we have developed the method to detect such metal ions by synthesizing 1,4-dihydropyridine derivatives (DHP) i.e., DHP-SH and Bis-DHP-SS, containing different substituent on the nitrogen atom. DHP-SH and Bis-DHP-SS were synthesized from 2-aminoethanethiol and 1,4-dihydropyridine tosylates (DHP-OTs), respectively. Synthesized compounds were characterized by ¹H NMR and MS. These derivatives have maximum absorption and fluorescence emission properties at 360 nm and 450 nm, respectively. And, fluorescent signals of both DHPs were quenched by Au³⁺ in MilliQ water. In details, once DHP-SH and Bis-DHP-SS were formed to Au³⁺, their fluorescent signals completely disappeared after 20 mins and 60 mins, respectively. Bis-DHP-SS was tested as a sensor for the determination of Au³⁺ in MilliQ water and it gave a linear relationship between the fluorescence intensity and Au³⁺ concentration in the range of 10-50 μM demonstrating LOD value to be 7.71 μM. Development of synthesizing nanocomposite between nanoparticles and DHP-SH and sense for the determination of metal ions are on progress.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.titleการพัฒนานาโนคอมโพสิตฟลูออโรฟอร์-พลาสโมนิกเพื่อตรวจวัดไอออน-โมเลกุลen_US
dc.title.alternativeDevelopment of ion-molecule recognizing fluorophore-plasmonic nanostructure compositeen_US
dc.typeSenior Projecten_US
dc.email.advisorAnawat.A@Chula.ac.th-
Appears in Collections:Sci - Senior Projects

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Thitirut_K_Se_2561.pdf1.54 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.