Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/64351
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorประพันธ์ คูชลธารา-
dc.contributor.authorพิชญา ธีรกุลกิตติพงศ์-
dc.contributor.authorภาวินี มณียม-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์-
dc.date.accessioned2020-03-13T08:27:51Z-
dc.date.available2020-03-13T08:27:51Z-
dc.date.issued2561-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/64351-
dc.descriptionโครงงานเป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาเคมีวิศวกรรม. คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีการศึกษา 2561en_US
dc.description.abstractไฮโดรเจนเป็นพลังงานทางเลือกที่สามารถนำมาใช้ในการผลิตกระแสไฟฟ้าได้ และยังเป็นพลังงาน สะอาดที่ไม่ส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม อย่างไรก็ตามไฮโดรเจนยังไม่สามารถผลิตได้ในปริมาณที่มากพอ และยังมี ต้นทุนการในผลิตที่สูง ดังนั้นงานวิจัยนี้จึงมุ่งเน้นไปที่การหาตัวเร่งปฏิกิริยาที่เหมาะสมสำหรับกระบวนการรีฟอร์ม มิงแบบเคมิคอลลูปปิง ซึ่งเป็นกระบวนการที่ใช้ในการผลิตไฮโดรเจนจากกลีเซอรอล โดยทำการทดลองในเครื่อง ปฏิกรณ์แบบเบดนิ่ง ที่ความดันคงที่ 1 บรรยากาศ อุณหภูมิ 650 องศาเซลเซียส ใช้นิกเกิลออกไซด์และไอรอน(II) ออกไซด์บนตัวรองรับอะลูมิเนียมออกไซด์เป็นตัวพาออกซิเจน ซึ่งเตรียมโดยวิธีการอิมเพรกเนชัน เพื่อศึกษาผลของ ความเข้มข้นของตัวเร่งปฏิกิริยา ชนิดของตัวเร่งปฏิกิริยา และประสิทธิภาพของตัวเร่งปฏิกิริยาเพื่อใช้ในกระบวนการรีฟอร์มมิงแบบเคมิคอลลูปปิง จากการทดลองพบว่านิกเกิลออกไซด์ที่ความเข้มข้นร้อยละ 15 โดย น้ำหนัก เหมาะสมที่จะนำมาใช้เป็นตัวพาออกซิเจนสำหรับกระบวนการรีฟอร์มมิงแบบเคมิคอลลูปปิงen_US
dc.description.abstractalternativeHydrogen source is an alternative energy which can be used for power generation and it is also a clean energy. However, hydrogen is not available in sufficient quantities and its production cost is still high. Thus, this work was focused on finding the suitable catalyst for use in chemical looping reforming which is a process for produce hydrogen from glycerol. Experiments were carried out in a fixed bed reactor at a constant pressure of 1 atm, temperature of 650 °C and using NiO and Fe₂O₃ supported on Al₂O₃ as the oxygen carrier which was prepared by an impregnation method. The effects of various variables such as catalyst concentration, catalyst type and ability to use in chemical looping reforming process were studied. From the experiment, 15wt% NiO was found to be a suitable oxygen carrier for the chemical looping reforming process.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.titleการผลิตไฮโดรเจนด้วยกระบวนการเคมิคอลลูปปิงรีฟอร์มมิงจากกลีเซอรอลen_US
dc.title.alternativeChemical looping reforming for hydrogen production from glycerolen_US
dc.typeSenior Projecten_US
dc.email.advisorPrapan.K@Chula.ac.th-
Appears in Collections:Sci - Senior Projects

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Pitchaya_T_Se_2561.pdf710.02 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.