Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/64388
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorพรรณทิพย์ ศิริวรรณบุศย์-
dc.contributor.authorกันตวรรณ มีสมสาร-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะจิตวิทยา-
dc.date.accessioned2020-03-22T06:27:08Z-
dc.date.available2020-03-22T06:27:08Z-
dc.date.issued2544-
dc.identifier.isbn9740314066-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/64388-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ศศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2544en_US
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาเปรียบเทียบความ ฉลาดทางอารมณ์ของนักเรียนในวัยรุ่นย่างเข้าสู่วัยรุ่นที่ได้รับการอบรมเลี้ยงดูในรูปแบบที่แตกต่างกันตามการรับรู้ของตนเอง กลุ่มตัวอย่าง คือ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 - 6 ในโรงเรียนสหศึกษาในเขตกรุงเทพมหานครจำนวน 400 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยมี 3 แบบ คือ แบบสำรวจการอบรมเลี้ยงดู แบบวัดความฉลาดทางอารมณ์ และแบบวัดความคิดเห็นเกี่ยวกับพฤติกรรมเด็ก สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล คือ การวิเคราะห์ความแปรปรวนสองทาง ทดสอบรายคู่ด้วยวิธีตูกีและการหาค่าสัมประสิทธิ์ สหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน ผลการวิจัย 1. เด็กที่ได้รับการอบรมเลี้ยงดูแบบ ดูแลเอาใจใส่มีคะแนนเฉลี่ยความฉลาดทางอารมณ์สูงกว่าเด็กที่ได้รับการอบรมเลี้ยงดูแบบใช้อำนาจควบคุม การอบรมเลี้ยงดูแบบรักตามใจ และการอบรมเลี้ยงดูแบบทอดทิ้งอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 2. ความแตกต่างระหว่างเพศไม่มีผลต่อความฉลาดทางอารมณ์ 3. คะแนนความฉลาดทางอารมณ์ของเด็กมีความสัมพันธ์กับคะแนนความคิดเห็นเกี่ยวกับพฤติกรรมของเด็กที่ประเมินโดยครูประจำชั้นอย่างมีนัยสำคัญ ทางสถิติที่ระดับ .01-
dc.description.abstractalternativeThe purpose of this research was to compare emotional intelligence of pubescent children with different self - perceived parenting styles. The subjects comprised of 400 students in Prathom Sueksa 5 - 6 of 17 co - educational schools in Bangkok. The data were collected by using 3 questionnaires: A survey form of Parenting Style , Emotional Intelligence Inventory and Child Behavior Inventory. The data were analyzed by using Two Way ANOVA, Tukey’s HSD Test and Pearson Product Moment Correlation Coefficient. The result s of the study were as follows: 1. Pubescent children having self - perceived Authoritative parenting style showed a significant higher emotional intelligence scores than those having self - perceived Authoritarian, Permissive, and Uninvolved parenting styles (p<.001). 2. There was no relationship between gender difference and emotional intelligence. 3. There was a significant positive relationship between scores of Emotional Intelligence and Child Behavior (p<.001).-
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectอารมณ์-
dc.subjectความฉลาดทางอารมณ์-
dc.subjectเด็ก -- การดูแล-
dc.subjectการรับรู้ตนเอง-
dc.subjectEmotions-
dc.subjectEmotional intelligence-
dc.subjectChild care-
dc.subjectSelf-perception-
dc.titleการเปรียบเทียบความฉลาดทางอารมณ์ของเด็กวัยย่างเข้าสู่รุ่น ที่ได้รับการอบรมเลี้ยงดูในรูปแบบที่แตกต่างกัน ตามการรับรู้ของตนเองen_US
dc.title.alternativeA comparison of emotional intellingence of pubescent children with different parenting styles as perceived by themselvesen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameศิลปศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineจิตวิทยาพัฒนาการen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorPuntip.S@Chula.ac.th-
Appears in Collections:Psy - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Kantawan_me_front_p.pdf745 kBAdobe PDFView/Open
Kantawan_me_ch1_p.pdf1.44 MBAdobe PDFView/Open
Kantawan_me_ch2_p.pdf996.61 kBAdobe PDFView/Open
Kantawan_me_ch3_p.pdf725.45 kBAdobe PDFView/Open
Kantawan_me_ch4_p.pdf836.7 kBAdobe PDFView/Open
Kantawan_me_ch5_p.pdf653.64 kBAdobe PDFView/Open
Kantawan_me_back_p.pdf1.13 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.