Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/65318
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorVeerote Daorerk-
dc.contributor.advisorPunya Charusiri-
dc.contributor.authorNattapol Srinak-
dc.contributor.otherChulalongkorn University. Faculty of Science-
dc.date.accessioned2020-04-15T07:52:45Z-
dc.date.available2020-04-15T07:52:45Z-
dc.date.issued2002-
dc.identifier.isbn9741721765-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/65318-
dc.descriptionThesis (M.Sc.)--Chulalongkorn University, 2002en_US
dc.description.abstractThe marine Triassic rocks in the Mae Hong Son-Mae Sariang area in northwestern Thailand have long been known as Mae Sariang Group. The study area of approximately 2,240 square kilometers is located in Mae Hong Son Provinces. In this study, the Mae Sariang Group is proposed and lithostratigraphically subdivided into 3 formations, namely, Kong Sum, Pra Trumuang, and Mae Leab formations, respectively, in ascending order. The Mae Sariang Group overlies the marine Permian rocks. The total thickness above 900 meters. The Kong Sum formation consists of 2 lithofacies; the lower conglomerate and the lithic sandstone. The total thickness varies 150 to 250 meters. The Pra Trumuang formation consists mainly of 4 lithofacies; the dark gray mudstone and sandstone, the chert interbedded mudstone, the conglomerate interbedded sandstone, and the sandstone and shale, respectively. The total thickness varies from 200 to 770 meters. The Mae Leab Pong formation predominantly consists of the calcareous mudstone and sandstone, the siliceous shale interbedded mudstone, and the medium sandstone in ascending order. The calcareous mudstone with abundant Halobia sp. indicates in the Triassic age. The total thickness varies from 80 to 120 meters. The lithology, sedimentary structures, geometry, and fossil assemblages reflect deep-water submarine fan environment. Stratigraphically and paleontologically, the age of the Mae Sariang Group should be assigned as Middle to Upper Triassic. Detrital chromian spinels probably indicate the provenance from ultramafic and basaltic volcanics for the Mae Sariang Group spinels. Evidences from geochemical as well as petrographical investigations reveal that the detrital chromian spinels of the Mae Sariang Group occurred in response to mid-ocean ridge and intraplate basalt.-
dc.description.abstractalternativeพื้นที่ศึกษาครอบคลุมพื้นที่ประมาณ 2,240 ตารางกิโลเมตร โดยศึกษาหินตะกอนที่สะสมตัวในทะเลในยุคไทรแอสซิกบริเวณพื้นที่แม่ฮ่องสอน-แม่สะเรียง ทางตะวันตกเฉียงเหนือของประเทศไทยซึ่งรู้จักในชื่อของกลุ่มหินแม่สะเรียง จากลักษณะการเรียงลำดับชั้นและศิลาพรรณนา สามารถแบ่งออกอย่างไม่เป็นทางการ 3 หมวดหินคือ หมวดหินกองสุม หมวดหินประตูเมือง และ หมวดหินแม่แลบ โดยเรียงจากล่างไปบนตามลำดับ กลุ่มหินแม่สะเรียงวางตัวบนหินยุคเพอร์เมียนความหนารวมทั้งสิ้นมากกว่า 900 เมตร หมวดหินกองสุมมีการวางตัวล่างสุดประกอบด้วย 2 ลักษณะปรากฏคือ หินกรวดมนตอนล่าง และหินทรายประเภทลิธิค ความหนาของหมวดหินนี้ 150 ถึง 250 เมตร หมวดหินประตูเมืองประกอบด้วย 4 ลักษณะปรากฏคือ หินโคลนและหินทรายสี เทาเข้ม หินเชิร์ตแทรกสลับหินโคลน หินกรวดมนแทรกสลับหินทราย และหินทรายและหินดินดานความหนา 200 ถึง 770 เมตร และหมวดหินแม่แลบประกอบด้วย 3 ลักษณะปรากฏคือ หินโคลน เนื้อปูนประสานแทรกสลับหินทราย หินดินดานเนื้อซิลิกาแทรกสลับหินโคลน และหินทรายขนาดกลาง ซากดึกดำบรรพ์ที่พบเป็นพวกหอยสองฝาจำพวก Halobia sp. ความหนา 80 ถึง 120 เมตร จากลักษณะศิลาพรรณา โครงสร้างภายในหินตะกอน รูปร่าง และซากดึกดำบรรพ์ บ่งถึงการสะสมตัวในเนินตะกอนรูปพัดใต้ทะเลของ ทะเลลึก หินทรายในพื้นที่ได้นำไปหาโครเมี่ยนสปิเนลซึ่งพบ 12 เม็ด นำไปวิเคราะห์ด้วยเครื่องอิเล็กตรอนไมโครโพรบ เมื่อทำการบันทึกหาความสัมพันธ์อัตราส่วนระหว่างอะตอมของโครเมียมกับอะลูมิเนียม และอัตราส่วนระหว่างอะตอมของแมกนีเซียมกับธาตุเหล็ก และค่าความสัมพันธ์ระหว่างไอออนที่มีประจุบวกสาม ของเศษชั้นตะกอนของแร่โครเมี่ยนสปิเนลซึ่งชี้ถึงการมีอยู่จริงของหินเมฟิกและหินอุลตราเมฟิกในช่วงที่มีการสะสมตะกอนยุคไทรแอสซิกบริเวณพื้นที่ศึกษา ผลลัพธ์ที่ได้พบว่าเศษชั้นตะกอนของแร่โครเมี่ยนสปิเนลที่พบในหินทรายอายุไทรแอสซิกเป็นประเภทแอลไพและมีความสัมพันธ์กับหินบะซอลต์ที่ประทุจากสันกลางสมุทรและที่ประทุขึ้นมาบนพื้นท้องทะเล จากการลำดับชั้นหินและซากดึกดำบรรพ์ กลุ่มหินแม่สะเรียงมีอายุระหว่างไทรแอสซิกตอนกลางถึงตอนปลาย-
dc.language.isoenen_US
dc.publisherChulalongkorn Universityen_US
dc.rightsChulalongkorn Universityen_US
dc.subjectGeology, Stratigraphic -- Thailand -- Mae Hong Sonen_US
dc.subjectGeology, Stratigraphic -- Triassicen_US
dc.subjectRocks, Sedimentary -- Triassicen_US
dc.subjectGeology -- Thailand -- Mae Hong Sonen_US
dc.subjectลำดับชั้นหิน -- ไทย -- แม่ฮ่องสอนen_US
dc.subjectลำดับชั้นหิน -- ยุคไทรแอสซิกen_US
dc.subjectหินชั้น -- ไทย -- แม่ฮ่องสอนen_US
dc.subjectธรณีวิทยา -- ไทย -- แม่ฮ่องสอนen_US
dc.titleLithostratigraphy of some triassic clastic rocks in southern part of Amphoe Muang Mae Hong Son, Changwat Mae Hong Son, Northwestern Thailanden_US
dc.title.alternativeการลำดับชั้นหินตามลักษณะของหินตะกอนเนื้อประสมบางส่วนไทรแอสซิก ในพื้นที่ตอนใต้ของอำเภอเมืองแม่ฮ่องสอน จังหวัดแม่ฮ่องสอน ตะวันตกเฉียงเหนือของประเทศไทยen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameMaster of Scienceen_US
dc.degree.levelMaster's Degreeen_US
dc.degree.disciplineGeologyen_US
dc.degree.grantorChulalongkorn Universityen_US
dc.email.advisorveerote@sc.chula.ac.th-
dc.email.advisorPunya.C@Chula.ac.th,cpunya@chula.ac.th-
Appears in Collections:Sci - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Nattapol_sr_front_p.pdfหน้าปก บทคัดย่อ และสารบัญ1.03 MBAdobe PDFView/Open
Nattapol_sr_ch1_p.pdfบทที่ 1879.56 kBAdobe PDFView/Open
Nattapol_sr_ch2_p.pdfบทที่ 23.23 MBAdobe PDFView/Open
Nattapol_sr_ch3_p.pdfบทที่ 36.44 MBAdobe PDFView/Open
Nattapol_sr_ch4_p.pdfบทที่ 41.34 MBAdobe PDFView/Open
Nattapol_sr_ch5_p.pdfบทที่ 51.63 MBAdobe PDFView/Open
Nattapol_sr_ch6_p.pdfบทที่ 6655.21 kBAdobe PDFView/Open
Nattapol_sr_back_p.pdfรายการอ้างอิง และภาคผนวก1.55 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.