Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/65869
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorจาริต ติงศภัทิย์-
dc.contributor.authorอิศรา ถาวรรุ่งกิจ-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะเศรษฐศาสตร์-
dc.date.accessioned2020-05-19T04:17:23Z-
dc.date.available2020-05-19T04:17:23Z-
dc.date.issued2546-
dc.identifier.isbn9741737785-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/65869-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2546en_US
dc.description.abstractวิทยานิพนธ์ฉบับนี้มีวัตถุประสงค์ในการศึกษาพฤติกรรมการเดินทางในเขตเมืองพิษณุโลกพร้อมทั้งได้พัฒนาแบบจำลองการเลือกยานพาหนะในการเดินทางโดยใช้ทั้งแบบจำลอง Multinomial Logit และแบบจำลอง Nested Logit ข้อมูลที่นำมาใช้เป็นข้อมูลจากการสัมภาษณ์ผู้เดินทางจำนวน 400 คน ซึ่งมีที่พักอาศัยในเขตผังเมืองรวมพิษณุโลกและมีการเดินทางครั้งล่าสุดโดย รถยนต์ รถจักรยานยนต์ รถประจำทางหรือขนส่งสาธารณะอื่น ๆ ผลจากการประมาณค่าในแบบจำลอง Multinomial Logit พบว่าตัวแปรด้านการขนส่งที่มีนัยสำคัญต่อการเลือกยานพาหนะได้แก่ ผลต่างของเวลาในการเดินทางโดยยานพาหนะชนิดต่าง ๆ จำนวนยานพาหนะในครัวเรือน และวัตถุประสงค์ในการเดินทาง ส่วนตัวแปรทางเศรษฐกิจและสังคมที่มีนัยสำคัญคือ เพศ อายุ จำนวนผู้ร่วมเดินทาง สถานภาพการทำงาน รายได้ของครัวเรือน และระดับการศึกษาของผู้เดินทาง แบบจำลองที่ได้มีค่าร้อยละการพยากรณ์ถูกต้องโดยรวมเท่ากับ 67.4 เปอร์เซ็นต์ และมีค่า McFadden-R2 เท่ากับ 0.343 ผลจากการประมาณค่าในแบบจำลอง Nested Logit พบว่าตัวแปรด้านการ1ขนส่งที่มีนัยสำคัญต่อการเลือกยานพาหนะได้แก่ ผลต่างของค่าใช้จ่ายในการเดินทางโดยยานพาหนะชนิดต่าง ๆ จำนวนยานพาหนะในครัวเรือน และวัตถุประสงค์ในการเดินทาง ส่วนตัวแปรทางเศรษฐกิจและสังคมที่มีนัยสำคัญคือ เพศ อายุ จำนวนผู้ร่วมเดินทาง สถานภาพการทำงาน รายได้ของครัวเรือนและระดับการศึกษาของผู้เดินทาง แบบจำลองที่ได้มีค่าร้อยละการพยากรณ์ถูกต้องโดยรวมเท่ากับ 81 เปอร์เซ็นต์ และมีค่า McFadden-R2 เท่ากับ 0.364 โดยมีโครงสร้างการตัดสินใจในขั้นแรกคือ เลือกยานพาหนะเดินทางระหว่างยานพาหนะส่วนบุคคล รถประจำทางและรถสี่ล้อ ขั้นตอนที่สองผู้ที่เลือก เดินทางด้วยยานพาหนะส่วนบุคคลจะเลือกระหว่าง รถยนต์และรถจักรยานยนต์ เมื่อพิจารณาจากค่าสถิติแล้วพบว่าพฤติกรรมของผู้เดินทางในเขตผังเมืองรวมพิษณุโลกมีความสอดคล้องกับแบบจำลอง Nested Logit มากกว่าแบบจำลอง Multinomial Logit-
dc.description.abstractalternativeThis aim of thesis is to study the behaviors of travellers who travel in the Phitsanulok urban area and develop a model for mode selection. Data were collected by means of a survey of 400 travellers who travel in the Phitsanulok urban area and have a choice between using a private car, a motorcycle, a conventional city bus or other public transport vehicles. Both the multinomial logit and the nested logit models are investigated. The result of the multinomial logit show that the statistically significant service variables are travel time different between vehicles, number of vehicles in household and purpose trips. The significant socio-economic variables are sex, age, number of fellow travellers, occupation, household income and education level of the traveller. The percent correctly predicted of the model is 67.4 percent and Mcfadden-R2 is 0.343 The results of nested logit show that the significant level of service variables are travel cost different between vehicles, number of vehicles in household and purpose trips. The significant socio-economic variables are sex, age, number of fellow travellers, work, household income and education level. The percent correctly predicted of the model is 81 percent and Mcfadden-R2 is 0.364 The first level in the nested logit model distinguishes between private vehicles, conventional city bus and mini bus, while in the second level, the private vehicles are divided between car and motorcycle. Based on the test statistics, the study shows that in the Phitsanulok urban area, the nested logit model performs better than the multinomial logit model.-
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2003.1303-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectการเดินทาง -- แง่เศรษฐศาสตร์en_US
dc.subjectพฤติกรรมตามแรงกดดัน -- แง่เศรษฐกิจen_US
dc.subjectยานพาหนะ -- แง่เศรษฐกิจen_US
dc.subjectVoyages and travels -- Economic aspectsen_US
dc.subjectCompulsive behavior -- Economic aspectsen_US
dc.subjectVehicles -- Economic aspectsen_US
dc.titleการเลือกรูปแบบการเดินทางในจังหวัดพิษณุโลกen_US
dc.title.alternativeTravel Modal Choice in Phitsanuloken_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameเศรษฐศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineเศรษฐศาสตร์en_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorCharit.T@chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2003.1303-
Appears in Collections:Econ - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Itsara_tr_front_p.pdfหน้าปก บทคัดย่อ และสารบัญ825.01 kBAdobe PDFView/Open
Itsara_tr_ch1_p.pdfบทที่ 1838.57 kBAdobe PDFView/Open
Itsara_tr_ch2_p.pdfบทที่ 21.18 MBAdobe PDFView/Open
Itsara_tr_ch3_p.pdfบทที่ 3970.7 kBAdobe PDFView/Open
Itsara_tr_ch4_p.pdfบทที่ 42.06 MBAdobe PDFView/Open
Itsara_tr_ch5_p.pdfบทที่ 5741.22 kBAdobe PDFView/Open
Itsara_tr_back_p.pdfรายการอ้างอิง และภาคผนวก1.02 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.