Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/65980
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorธิดา สาระยา-
dc.contributor.authorสัติยะพันธ์ คชมิตร-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะอักษรศาสตร์-
dc.date.accessioned2020-05-25T04:00:37Z-
dc.date.available2020-05-25T04:00:37Z-
dc.date.issued2546-
dc.identifier.isbn9741742592-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/65980-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (อ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2546en_US
dc.description.abstractวิทยานิพนธ์เรื่องนี้มีจุดมุ่งหมายที่จะศึกษาถึงความเชื่อเรื่องนาคของชุมชนอีสานลุ่มแม่น้ำโขง อันได้แก่ จังหวัดเลย หนองคาย อุดรธานี สกลนคร และนครพนม ในช่วงยุคอุรังคธาตุ (พุทธศตวรรษที่ 21-23) จนถึงปัจจุบัน ตามหลักฐานทางโบราณคดีและเอกสารมีร่องรอยว่านาคเป็นสิ่งที่ปรากฏอยู่ในสัญลักษณ์ทางความเชื่อดั้งเดิม โดยเฉพาะอย่างยิ่งลัทธิความอุดมสมบูรณ์ซึ่งมีการเคารพเช่นสรวงบูชาธรรมชาติ และสัตว์บางชนิด โดยเชื่อว่าจะเป็นผู้บันดาลให้เกิดความมั่งคั่งแก่ชุมชนแถบลุ่มน้ำโขง ในช่วงยุคอุรังคธาตุคติเรื่องนาคได้ถูกนำมาใช้ในด้าน การเมืองการปกครองโดยสัมพันธ์ กับการขยายตัวของอาณาจักรล้านช้าง ในบริเวณลุ่มน้ำโขง รวมทั้งเป็นสัญลักษณ์สำคัญทางพุทธศาสนา ปัจจุบันชุมชนแถบลุ่มน้ำโขงยังคงมีความเชื่อ พิธีกรรม นิทาน เรื่องเล่าในท้องถิ่นที่เกี่ยวข้องกับคติเรื่องนาค เมื่อมีการส่งเสริมการท่องเที่ยวเป็นผลให้นาคถูกใช้เป็นจุดขายทางการท่องเที่ยวโดยนาคได้กลายเป็นสินค้าทางวัฒนธรรม เมื่อคติเรื่องนาค เปลี่ยนไป ชุมชน ในบริเวณแถบลุ่มน้ำโขงจึงพยายามที่จะแสดงว่ามีความเชื่อ เมื่อคติเรื่องนาคเชื่อที่มีมานานและเป็นสิ่งที่สัมพันธ์กับวิถีชีวิต ของผู้คนในบริเวณแถบลุ่มน้ำโขง-
dc.description.abstractalternativeThis thesis aims to study about naga beliefs along the Mekong river in Loei Nongkhai Udonthani Sakonnakhon Nakhonphanom from the Urangkatad period (16-18 A.D.) to the present. From Archeological evidence the naga is related with symbols in original beliefs together with Fertility cults. This cult worships the supernatural and animism, and is believed to have created wealth for communities along the Mekong river. In the Urangkatad period the naga beliefs were used in politics and administration that related to the Growth of the Lanxang Kingdom along the Mekong river the naga was also an important symbol of Buddhism Nowadays communities along the Mekong river still believe in myth in the naga ritual naga, legend naga, folktales about the naga. When tourism was promoted along the Mekong river Naga beliefs were used as cultural products. Although the basic beliefs of the Naga have changed, the communities along the Mekong river are trying to present the idea that their basic beliefs in the Naga have been related to their way of life for centuries-
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2003.787-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectความเชื่อen_US
dc.subjectคติชนวิทยาen_US
dc.subjectนาคen_US
dc.subjectลุ่มน้ำโขงen_US
dc.subjectไทย -- ความเป็นอยู่และประเพณีen_US
dc.subjectFolkloreen_US
dc.subjectNagaen_US
dc.subjectMekong River Regionen_US
dc.subjectThailand -- Social life and customsen_US
dc.titleพัฒนาการของความเชื่อเรื่องนาคแถบลุ่มน้ำโขงตั้งแต่ยุคอุรังคธาตุสู่ประวัติศาสตร์ร่วมสมัยen_US
dc.title.alternativeDevelopment of naga beliefs along the Mekong from the Urangkatad period to the contemporary perioden_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameอักษรศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineประวัติศาสตร์en_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorไม่มีข้อมูล-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2003.787-
Appears in Collections:Arts - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Sattiyapan_kh_front_p.pdfหน้าปก บทคัดย่อ และสารบัญ898.93 kBAdobe PDFView/Open
Sattiyapan_kh_ch1_p.pdfบทที่ 11.15 MBAdobe PDFView/Open
Sattiyapan_kh_ch2_p.pdfบทที่ 21.81 MBAdobe PDFView/Open
Sattiyapan_kh_ch3_p.pdfบทที่ 32.88 MBAdobe PDFView/Open
Sattiyapan_kh_ch4_p.pdfบทที่ 44.43 MBAdobe PDFView/Open
Sattiyapan_kh_ch5_p.pdfบทที่ 5672.81 kBAdobe PDFView/Open
Sattiyapan_kh_back_p.pdfรายการอ้างอิง และภาคผนวก4.87 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.