Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/66070
Title: Effects of vermicompost on available silicon content, silicon uptake and biomass production of Bird's eye chili
Other Titles: ผลของปุ๋ยไส้เดือนต่อปริมาณซิลิคอนใช้ได้ การดูดธาตุซิลิคอน และการสร้างมวลชีวภาพของพริกขี้หนูใหญ่
Authors: Laksana Kachaban
Advisors: Anchalee Chaidee
Other author: Chulalongkorn University. Faculty of Science
Advisor's Email: Anchalee.Ch@Chula.ac.th
Issue Date: 2018
Publisher: Chulalongkorn University
Abstract: Soil amendment by vermicompost may modify soil physicochemical properties leading to enhancing available form of beneficial element, such as silicon (Si). To prove that, Bird's eye chili plants were grown under 4 conditions: soils without amendment (control), with vermicompost (300 gram/kilogram), with chemical fertilizer (15-15-15, 5 gram/kilogram) and with sodium trisilicate fertilizer (1 mM SiO₂) for 49 days. The results showed that vermicompost significantly increased height, leaf number and dry mass of shoots and roots, when compared to control. For Si uptake, the chili plants grown under the control condition accumulated Si approximately 672 ppm in shoots and 1,613 ppm in roots. Nonetheless, vermicompost did not affect soil available Si but significantly increased total Si contents per plant. Moreover, soil property analysis showed that vermicompost increased electrical conductivity (EC) and pH of soils and seemed to decrease soil compaction. Thus, it may be that vermicompost improved physicochemical properties of soils leading to increased biomass production of Bird's eye chili.
Other Abstract: การปรับปรุงดินด้วยปุ๋ยมูลไส้เดือนอาจมีผลเปลี่ยนแปลงคุณสมบัติทางกายภาพและเคมีของดิน ที่ทำให้ธาตุเสริมประโยชน์ เช่น ซิลิคอน (Si) อยู่ในรูปใช้ได้เพิ่มขึ้น เพื่อตรวจสอบผลดังกล่าว จึง ทดลองปลูกพริกขี้หนูใหญ่ใน 4 สภาวะ ได้แก่ ดินที่ไม่มีการปรับปรุง (ชุดควบคุม) ดินที่ปรับปรุงโดย การเติมปุ๋ยมูลไส้เดือน (300 กรัม/กิโลกรัม) ปุ๋ยเคมี สูตร 15-15-15 (5 กรัม/กิโลกรัม) และปุ๋ยโซเดียม ไตรซิลิเกต (1 mM SiO₂) เป็นเวลา 49 วัน ผลการทดลองพบว่า ปุ๋ยมูลไส้เดือนมีผลเพิ่มความสูง จำนวนใบ และน้ำหนักแห้งต้นและรากของพริกขี้หนูใหญ่อย่างมีนัยสำคัญเมื่อเทียบกับชุดควบคุม สำหรับการดูดธาตุซิลิคอนของพริกขี้หนูใหญ่ที่ปลูกด้วยดินที่ไม่มีการปรับปรุง พบว่ามีการสะสม ซิลิคอนในส่วนยอดประมาณ 672 ppm และในราก 1,613 ppm อย่างไรก็ตาม ปุ๋ยมูลไส้เดือนไม่มีผล ต่อปริมาณซิลิคอนใช้ได้ในดิน แต่มีผลเพิ่มปริมาณซิลิคอนต่อต้นของพริกขี้หนูใหญ่อย่างมีนัยสำคัญ นอกจากนี้ จากการตรวจสอบคุณสมบัติของดินพบว่า ปุ๋ยมูลไส้เดือนเพิ่มค่าการนำไฟฟ้า (EC) และค่า ความเป็นกรดด่าง (pH) ของดิน อีกทั้งสังเกตพบว่าดินมีความหนาแน่นลดลง จึงอาจเป็นไปได้ว่าปุ๋ย มูลไส้เดือนปรับปรุงคุณสมบัติทางกายภาพและเคมีของดิน ทำให้มีการสร้างมวลชีวภาพของพริกขี้หนู ใหญ่ที่เพิ่มขึ้น
Description: This Senior Project Submitted in Partial Fulfillment of the requirements For the Degree of Bachelor of Science in Botany, Faculty of Science, Chulalongkorn University Academic Year 2018
URI: http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/66070
Type: Senior Project
Appears in Collections:Sci - Senior Projects

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Laksana_K_Se_2561.pdf1.46 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.