Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/66074
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorศรันญา มณีโรจน์-
dc.contributor.authorกชพรรณ สมสา-
dc.contributor.authorณัฐสินี ศรีเวทย์บดี-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์-
dc.date.accessioned2020-05-30T14:33:47Z-
dc.date.available2020-05-30T14:33:47Z-
dc.date.issued2561-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/66074-
dc.descriptionโครงงานเป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีการศึกษา 2561en_US
dc.description.abstractระบบแนะนำถูกสร้างขึ้นมาเพื่อช่วยแนะนำสินค้า ผลิตภัณฑ์ ตลอดจนบริการต่าง ๆ ให้กับผู้ใช้ระบบ และเพื่อให้การแนะนำนั้นตรงกับความต้องการของผู้ใช้ระบบแต่ละคน จึงมีการคิดค้นระบบแนะนำวิธีการต่าง ๆ ขึ้นมากมาย ซึ่งระบบแนะนำหลักที่ใช้ในปัจจุบันคือ Collaborative Filtering (CF) และ Content-Based Filtering (CBF) โดย CF คือการแนะนำที่ดูจากการกระทำของผู้ใช้ที่เราสนใจและผู้ใช้คนอื่น ๆ ในระบบที่มีความสัมพันธ์บางอย่างกับผู้ใช้นั้น เช่น ความชอบ รสนิยมพฤติกรรมต่าง ๆ ที่คล้ายคลึงกับผู้ใช้ที่เราสนใจ โดยผู้ใช้อื่นที่มีความคล้ายคลึงกับผู้ใช้ที่เราสนใจ เรียกแทนว่า “เพื่อนบ้าน (Neighbor)” จากนั้นจึงนำรายการข้อมูลต่าง ๆ จากเพื่อนของผู้ใช้ มาแนะนำให้กับผู้ใช้ ดังนั้นการแนะนำแบบนี้จึงทำให้ได้ข้อมูลที่มีความหลากหลายในการแนะนำ ส่วน CBF คือ การแนะนำที่ดูจากพฤติกรรมในอดีตของผู้ใช้ที่เราสนใจเป็นหลัก โดยจะเก็บข้อมูลนั้นมาวิเคราะห์ และแนะนำข้อมูลต่าง ๆ ที่มีความคล้ายคลึงกันกับข้อมูลนั้น มาแนะนำให้แก่ผู้ใช้ ดังนั้นการแนะนำวิธีนี้จึงสามารถแนะนำข้อมูลได้ตรงตามความชอบของผู้ใช้ ในปัจจุบัน ระบบแนะนำมีหลายโดเมน เช่น ภาพยนตร์ เพลง โรงแรม ร้านอาหาร เป็นต้น ซึ่งมีงานวิจัยเกี่ยวกับโดเมนร้านอาหาร ซึ่งอาจอยู่ในรูปแบบ CF หรือ CBF ถูกนำมาใช้ร่วมกับโครงข่ายประสาทเทียมแบบวนซ้ำเท่านั้น ซึ่ง CF มีข้อเสียคือข้อมูลขาเข้าต้องมีจำนวนมากเพียงพอที่จะนำมาเป็นฐานของข้อมูลเพื่อใช้ในการแนะนำ และ CBF มี ข้อเสียคือข้อมูลขาออกของการแนะนำดังกล่าวจะมีแต่ข้อมูลที่มีความคล้ายคลึงกันกับความพึงพอใจในอดีตของผู้ใช้ทำให้ข้อมูลขาออกจะไม่มีความหลากหลาย จึงไม่เกิดการแนะนำวัตถุแบบใหม่ให้กับผู้ใช้เป้าหมาย จากเหตุผลข้างต้นจะสังเกตได้ว่าจากงานวิจัยที่ผ่านมาพบว่ายังไม่มีงานวิจัยที่นำทั้งสองรูปแบบมารวมกันในรูปแบบการแนะนำร้านอาหาร ดังนั้นงานวิจัยนี้จึงเลือกใช้วิธีการแนะนำร้านอาหาร โดยมีการประมวลผลของการกรองร่วมและการกรองแบบอิงเนื้อหาร่วมกันบนโครงข่ายประสาทเทียมแบบวนซ้ำ โดยใช้ข้อมูลวิจารณ์และลักษณะเฉพาะของวัตถุแบบหลายเกณฑ์ จากผลการทดลองการรวมขั้นตอนระหว่างข้อมูลวิจารณ์และลักษณะเฉพาะของวัตถุแบบหลายเกณฑ์ ให้ผลลัพธ์ทีดีกว่าลักษณะเฉพาะของวัตถุแบบหลายเกณฑ์เพียงอย่างเดียวen_US
dc.description.abstractalternativeA recommender system or a recommendation system are utilized for recommend items for users including movies, books, research articles and products in general. There are many methods of recommender system. In present, we use Collaborative Filtering (CF) and Content-Based Filtering (CBF). Collaborative Filtering is a method of prediction making about the interests of a user by preferences collecting or taste information from many users that related to user called “NEIGHBORS”. The standard method of CF is known as Nearest Neighborhood algorithm. CF produces more several recommendations. Content-Based Filtering is a method of items recommendation based on a comparison between the content of items and user profile. The content of each item is represented as a set of descriptors or terms, typically the words that occur in a document. The user profile is represented with the same terms and built up by analyzing historical behavior to the content of items which have been done by the user. Recommender systems currently have various domains including movies, music, hotels and restaurants. There are many restaurants researches only using one of two methods (CF or CBF) for recurrent neuron network. Data sparsity is seen as key disadvantage of CF because it should have enough informations to recommend and limited content analysis is a disadvantage of CBF leads to no various of outputs. According to previous reasons, we propose to use both of CF and CBF in restaurant recommender system by using recurrent neuron network and the inputs are reviews and multicriteria of item-based. As a result of experiment, an integration of them has more effective than using only multicriteria of item-based.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.titleการแนะนำร้านอาหารแบบหลายเกณฑ์โดยโครงข่ายประสาทเทียมแบบวนซ้ำen_US
dc.title.alternativeRestaurant multicriteria recommendation based on recurrent neural networken_US
dc.typeSenior Projecten_US
dc.email.advisorSaranya.M@Chula.ac.th-
Appears in Collections:Sci - Senior Projects

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Kotchapun_S_Se_2561.pdf1.13 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.