Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/66174
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสมหวัง พิธิยานุวัฒน์-
dc.contributor.advisorCogan, John J.-
dc.contributor.authorณัฏฐภรณ์ หลาวทอง-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะครุศาสตร์-
dc.date.accessioned2020-06-04T06:53:28Z-
dc.date.available2020-06-04T06:53:28Z-
dc.date.issued2544-
dc.identifier.isbn9740310362-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/66174-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ค.ด.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2544en_US
dc.description.abstractการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ 3 ประการคือ ประการแรก เพื่อพัฒนากรอบแนวคิดของสำนึกสากลจากการสัมภาษณ์สอบถามผู้เชี่ยวชาญและศึกษาเอกสารที่เกี่ยวข้อง เพื่อสร้างเป็นโมเดลการวัดสำนึกสากลตามบริบทสังคมวัฒนธรรมไทย ประการที่สอง เพื่อพัฒนามาตรวัดสำนึกสากลจากกรอบแนวคิดที่กำหนดขึ้น โดยตรวจสอบคุณภาพของมาตรสำนึกสากล ทั้งความเที่ยงและความตรงประการที่สาม เพื่อเปรียบเทียบความสอดคล้องระหว่างโมเดลการวัดสำนึกสากลที่ Hett (1993) พัฒนาขึ้น. โมเดลสำนึกสากลตามบริบทของสังคมวัฒนธรรมไทย, และโมเดลที่มีการผสมผสานจากทั้งสองโมเดล กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยคือ นิสิตนักศึกษาระดับปริญญาบัณฑิตจากมหาวิทยาลัยของรัฐ 4 แห่ง จำนวน 1,739 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ มาตรวัดสำนึกสากลตามบริบทของสังคมวัฒนธรรมไทย มาตรวัดสำนึกสากลที่ Hett พัฒนาขึ้น วิเคราะห์ความตรงตามโครงสร้างด้วยการวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยัน โดยใช้โปรแกรมลิสเรล วิเคราะห์ความตรงตามเกณฑ์สัมพันธ์ด้วยสูตรการหาสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบเพียร๙สันโปรดักส์โมเมนต์ และวิเคราะห์ความเที่ยงแบบความสอดคล้องภายในตามสูตรการหาสัมประสิทธิ์แอลฟ่าของครอนบาค ผลการวิจัยพบว่า สำนึกสากลตามบริบทของสังคมวัฒนธรรมไทยประกอบด้วยจำนวน 43 ข้อ 4 องค์ประกอบ คือ (ก) การยอมรับความหลากหลายทางวัฒนธรรม, (ข) การใส่ใจต่อประเด็นปัญหาโลก. (ค) การพึ่งพาอาศัยและอยู่ร่วมกันโดยสันติ, (ง) การเป็นสมาชิกพลโลก มาตรนีมีความตรงตามเกณฑ์สัมพันธ์กับมาตรสำนึกสากลของ Hett อย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ 0.01 (r = 0.70) ความเที่ยงแบบความสอดคล้องภายในของมาตรเท่ากับ 0.84 โมเดลการวัดสำนึกสากลทั้ง 3 โมเดลมีความสอดคล้องกับข้อมูลเชิงประจักษ์ โมเดลสำนึกสากลตามบริบทของสังคมวัฒนธรรมไทยอธิบายความแปรปรวนในตัวแปรสำนึกสากลได้ร้อยละ 86 เป็นโมเดลที่สอดคล้องกับข้อมูลเชิงประจักษ์มากที่สุด โดยมีค่าไค-สแควร์เท่ากับ 1.40, p = 0.24, ที่องศาอิสระ 1, GFI =1, AGFI = 1, และ RMR = 0-
dc.description.abstractalternativeThe purpose of this research was (1) to develop conceptual framework of global-mindedness by reviewing literature and interviewing experts, (2) to develop a global-mindedness scale in Thai socio-cultural contexts, and (3) to compare how fit three measurement models of global-mindedness between and among American and Thai contexts. The sample consisted of 1,739 undergraduate students at four public universities. The research instruments used were the global-mindedness scale built by Hett (1993) and the global-mindedness scale developed for Thai socio-cultural context. Confirmatory factor analyses were performed to detennine the construct validity through LISREL. Pearson’s product moment correlation coefficients were examined to determine the criterion-related validity. Cronbach’s alpha internal consistencies were estimated for the reliability of the scales. The results indicated that the global-mindedness scale developed for Thai sociocultural context contained 43 items representing 4 factors, including (a) Acceptance of different cultures, (b) Care in the world’s problems, (c) Interconnectedness and peace, and (d) World citizenship. The global-mindedness scale in Thai socio-cultural context correlates significantly with Hett’s global-mindedness scale at p = 0.01 (r = 0.70). The internal consistency reliability of the global-mindedness scale in Thai socio-cultural context is 0.84. Three measurement models of global-mindedness were consistent with the empirical data. The model of global-mindedness scale in Thai socio-cultural context accounted for 86 percent of variance in the global-mindedness variable. The model validation of the best-fitted model provided a chi-square goodness-of-fit test of 1.40, p = 0.24, df = 1, GFI =1, AGFI = 1, and RMR of 0.-
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectการศึกษาแบบพหุวัฒนธรรมen_US
dc.subjectวัฒนธรรมไทยen_US
dc.subjectไทย -- ภาวะสังคมen_US
dc.subjectMulticultural education-
dc.subjectThailand -- Social conditions-
dc.titleการพัฒนามาตรสำนึกสากลตามบริบทของสังคมวัฒนธรรมไทยen_US
dc.title.alternativeDevelopment of the global-mindedness scale in Thai socio-cultural contexten_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameครุศาสตรดุษฎีบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาเอกen_US
dc.degree.disciplineการวัดและประเมินผลการศึกษาen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorSomwung.P@chula.ac.th-
dc.email.advisorNo information provided-
Appears in Collections:Edu - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Nuttaporn_la_front_p.pdf842.72 kBAdobe PDFView/Open
Nuttaporn_la_ch1_p.pdf818.22 kBAdobe PDFView/Open
Nuttaporn_la_ch2_p.pdf2.13 MBAdobe PDFView/Open
Nuttaporn_la_ch3_p.pdf1.37 MBAdobe PDFView/Open
Nuttaporn_la_ch4_p.pdf1.99 MBAdobe PDFView/Open
Nuttaporn_la_ch5_p.pdf985.24 kBAdobe PDFView/Open
Nuttaporn_la_back_p.pdf1.2 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.