Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/66438
Title: Studying effect of triethanolamine in lubricant for using in lapping slider head process
Other Titles: ผลของไตรเอทาโนลามีนในสารหล่อลื่นสาหรับกระบวน การขัดหัวอ่าน-เขียนฮาร์ดดิสก์ไดร์ฟ
Authors: Piyanan Dangnearm
Advisors: Duangamol Tungasmita
Other author: Chulalongkorn University. Faculty of Science
Advisor's Email: Duangamol.N@Chula.ac.th
Issue Date: 2014
Publisher: Chulalongkorn University
Abstract: A problem in lapping slider head process in hard disk drive industry is spending a long lapping time leading to slow production. Therefore, slider fabrication development group of Western digital Co, Ltd has been interested in studying on some additives in lubricant using in lapping process to decrease lapping time. The research found that triethanolamine (TEA), one of the additives in ethylene glycol (EG) base stock helps reduce lapping time. Hence, this project studied on an effect of TEA in lapping process. The experiments were divided into 4 parts. The first part of experiment was testing physical properties of lubricants. The second part, experiments were done by using stripe slider bars in lapping and dipping with lubricants containing 0%, 3%, 6% and 10%wt. of TEA in EG. The third part, alumina titanium carbide (AlTiC) coupon coated with amorphous alumina as representative of major component in slider bar were dipped in 6%wt. of TEA and then characterized by optical microscopy, atomic force microscopy (AFM) and roughness test. The fourth part was study on the chemical reaction of solid alumina and TEA and characterization with Raman and 1H-NMR spectroscopy. Furthermore, the study on effect of TEA on cobalt-iron alloy which is minor component of slider bar was done by using potentiodynamic polarization technique. The results showed that TEA can reduce lapping time by removing alumina part of slider bar by Al-TEA complex formation.
Other Abstract: ปัญหาที่พบในกระบวนการขัดหัวอ่าน-เขียนในอุตสาหกรรมฮาร์ดดิสก์ไดร์ฟคือการใช้เวลาในการขัดชิ้นงานที่นานเกินไปส่งผลให้การผลิตงานล่าช้า ดังนั้นแผนกพัฒนาคุณภาพหัวอ่าน-เขียนของบริษัทเวสเทิร์นดิจิตอลมีความสนใจที่จะศึกษาสารเติมแต่งในสารหล่อลื่นที่ใช้ในกระบวนการขัดเพื่อที่จะลดเวลาในการขัดชิ้นงาน จากผลงานวิจัยพบว่าไตรเอทาโนลามีนที่เป็นสารเติมแต่งในเอทิลีนไกลคอลซึ่งใช้เป็นน้ำมันหล่อลื่นพื้นฐานนั้นช่วยลดเวลาในการขัดชิ้นงานดังนั้นงานวิจัยนี้จะศึกษาเกี่ยวกับผลกระทบของไตรเอทาโนลามีนต่อกระบวนการขัดการทดลองนี้แบ่งออกเป็น 4 ส่วนโดยที่ ส่วนที่ 1 คือการตรวจสอบสมบัติทางกายภาพและเคมีของน้ำมันหล่อลื่น ในส่วนที่ 2 ทำการทดลองโดยใช้สไลเดอร์บาร์นำไปผ่านกระบวนการขัดและทดลองโดยการจุ่มในสารหล่อลื่นโดยใช้สารหล่อลื่นที่มีปริมาณของไตรเอทาโนลามีนต่างกันที่0%, 3%, 6% และ 10%wt. ในเอทิลีนไกลคอลในส่วนที่ 3 ทำการทดลองโดยใช้แผ่นอะลูมินาไทเทเนียมคาร์ไบด์เคลือบด้วยอะลูมินาอสัณฐานซึ่งใช้เป็นตัวแทนองค์ประกอบหลักของสไลเดอร์บาร์ โดยทำการจุ่มในสารหล่อลื่นที่มีประกอบด้วย 6%ไตรเอทาโนลามีน ตรวจสอบพื้นผิวโดยกล้องจุลทรรศน์ กล้องจุลทรรศน์แรงอะตอมและตรวจสอบความเรียบของพื้นผิว ในส่วนที่ 4 นั้นศึกษาปฏิกิริยาเคมีระหว่างของแข็งอะลูมินาซึ่งใช้เป็นตัวแทน ของสไลเดอร์บาร์และไตรเอทาโนลามีนในเอทิลีนไกลคอลโดยตรวจสอบเอกลักษณ์ของสารที่ได้หลังทำปฏิกิริยาด้วยเทคนิครามาน สเปกโทรสโกปีและ ¹H NMR สเปกโทรสโกปี นอกจากนี้ยังมีการศึกษาผลของไตรเอทาโนลีนต่อโลหะผสมโคบอลเหล็กซึ่งเป็นองค์ประกอบย่อยของสไลเดอร์บาร์โดยวิธีโพเทนทิโอไดนามิกส์โพลาไรเชชันจากผลการทดลองสรุปได้ว่าไตรเอทาโนลีนช่วยลดเวลาในการขัดงานโดยกำจัดอะลูมินาจากพื้นผิวผ่านการเกิดสารเชิงซ้อน
Description: A senior project submitted in partial fulfillment of the requirements for the Degree of Bachelor of Science Department of Chemistry Faculty of Science Chulalongkorn University Academic Year 2014
URI: http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/66438
Type: Senior Project
Appears in Collections:Sci - Senior Projects

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
2557_18.pdf1.94 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.