Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/66481
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorอมรวิชช์ นาครทรรพ-
dc.contributor.advisorสุภาวดี มิตรสมหวัง-
dc.contributor.authorวารุณี ศุภบัณฑิต-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะครุศาสตร์-
dc.date.accessioned2020-06-18T08:12:59Z-
dc.date.available2020-06-18T08:12:59Z-
dc.date.issued2548-
dc.identifier.isbn9741418752-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/66481-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ค.ด.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2548en_US
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์การมีส่วนร่วมของชุมชนในการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานระดับสถานศึกษาในเชิงสังคมวิทยา และเพื่อนำเสนอแนวทางการพัฒนาการมีส่วนร่วมของชุมชมในการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานระดับสถานศึกษา งานวิจัยนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ ใช้พหุกรณีศึกษา โรงเรียน 4 แห่งในจังหวัดนครนายก ใช้วิธีการศึกษาเอกสาร การศึกษาภาคสนาม เก็บข้อมูลด้วยวิธีการสนทนากลุ่ม การสัมภาษณ์เจาะลึก การสังเกตแบบมีส่วนร่วมและไม่มีส่วนร่วม ในส่วนการนำเสนอแนวทางการพัฒนาการมีส่วนร่วมของชุมชนในการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน ผู้วิจัยได้วิเคราะห์ข้อมูลภาคสนามและนำเสนอรูปแบบการพัฒนา จากนั้นนำไปให้ผู้บริหารและสถานศึกษานิเทศก์สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษานครนายกตรวจสอบ ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้ 1.การวิเคราะห์การมีส่วนร่วมของชุมชนในการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานระดับสถานศึกษาในเชิงสังคมวิทยาแบ่งเป็น 2 ตอน คือ 1) การบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน (School Based Management: SBM) พบว่า ผู้บริหารสถานศึกษาเป็นผู้นำในการพัฒนาการจัดการศึกษาโดยทาบทามบุคคลให้เข้าเป็นคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน มีการกระจายอำนาจการบริหารอย่างทั่วถึงทั้งโรงเรียนและมีการทำงานเป็นทีม คณะกรรมการสถานศึกษาได้รับการชี้แจงให้ทราบบทบาทหน้าที่และร่วมบริหารจัดการโดยการประชุมปรึกษา มีการจัดทำแผนคุณภาพซึ่งเกิดจากความร่วมมือของทุกฝ่ายในโรงเรียนมีความร่วมมือของผู้ปกครองเครือข่ายมีระบบธรรมาภิบาลเพื่อความโปร่งและเป็นธรรมมีการประชาสัมพันธ์เผยแพร่ผลงานของโรงเรียน 2) การวิเคราะห์เชิงสังคมวิทยา (1) การวิเคราะห์บทบาทหน้าที่ของกรรมการสถานศึกษา ได้แก่ บทบาทที่คาดหวัง บทบาทที่รับรู้และบทบาทที่แสดง พบว่าโดยภาพรวมกรรมการรับรู้และแสดงบทบาทได้ในระดับปานกลาง มีการขัดแย้งภายในบทบาท ด้านวิชาการ (2) การวิเคราะห์ข้อจำเป็นแห่งการหน้าที่ ของ Tacott Parsons พบว่า การเกิดความร่วมมือในการบริหารสถานศึกษาเกิดจากการแสวงหาวิถีทางบรรลุเป้าหมาย(G) โดยการทาบทามบุคคลในชุมชนให้เข้ามาเป็นคณะกรรมการสถานศึกษาของโรงเรียน เกิดการปรับตัวในการทำงานร่วมทั้งโรงเรียนและชุมชน (A) เกิดการประสานกลมกลืนภายในระบบ(1) หาวิธีการทำงานร่วมกันและลดความตึงเครียด(L) ในการทำงานด้วยการจัดประชุมและส่งเสริมความรู้ความเข้าใจในการทำงานร่วมกัน 2.แนวทางการพัฒนาการมีร่วนของชุมชนในการจัดการศึกษา ผู้วิจัยได้นำเสนอ 2 แนวทาง คือ การสร้างผู้นำในการพัฒนา และการอบรมคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน ซึ่งผู้วิจัยได้วิเคราะห์และเรียบเรียงข้อมูลจากการสนทนากลุ่ม ศึกษาและสังเคราะห์เอกสารที่เกี่ยวข้องเป็นการอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อทำให้เกิดทักษะในการบริหาร แนวทางดังกล่าวได้นำไปให้ผู้บริหารและศึกษานิเทศก์สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษานครนายกตรวจสอบและปรับปรุงแก้ไขเพื่อให้มีความเหมาะสมยิ่งขึ้น-
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this research are to analyze the community participation in basic education at the school level by using the structural functional theory and to propose guidelines for enhancing the community participation in basic education at the school level. The research utilized a qualitative research methodology by using data collection, the techniques of focus- group discussion, in-depth interview, and observation, as well as non-participatory and participatory observation and by using field study in 4 schools in Nakornnayok province. Administrators and supervisors at the office of Nakorn nayok educational area examined and approved the guidelines. Research findings were as follows: 1) The school based management is conducted in all 4 schools. 2) The sociological analysis in structural-functional theory were used to analyze the basic educational institute committee’s role. (1) To analyze in expected role. perceived role and actual role in terms of academic. budget personnel and general management. It was found that the basic educational committee’s role in perceived role and actual role are in medium level. There is a intrarole conflict in terms of academic. (2) To analyze the action system by using The Functional lmperatives in 4 basic elements : CAIL. The G (Goal attainment) the school invited community to be the basic educational institute committee both school and community have to be adapted themselves (A : Adaptation) to work together, then they have been searching the ways to work well so they are integrated (I : Integration) themselves by sharing both time and ideas, and work controlling or reducing some stress (L : Latency) by having some meetings. 2) Two types of guidelines to enhance the community participation in basic education were presented Firstly. “Improving the leaders in developing” which is derived from the information identified by the members of the focus-group discussion. This type of education intends to improve the administrators to understand and practice some skulls in education administration. Secondly “The basic educational institute committee seminar” to improve the quality of all the basic educational institute committee was developed by the data information from field-study and the analysis and synthesis of related documents These 2 guidelines were submitted to the administrators and supervisors at the office of Nakorn nayok educational area for judgment and improvement.-
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectการศึกษาขั้นพื้นฐาน -- ไทย -- นครนายกen_US
dc.subjectการศึกษา -- การมีส่วนร่วมของประชาชนen_US
dc.subjectการบริหารการศึกษาen_US
dc.subjectBasic education -- Thailand -- Nakhon Nayoken_US
dc.subjectEducation -- Citizen participationen_US
dc.titleแนวทางการพัฒนาการมีส่วนร่วมของชุมชนในการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานระดับสถานศึกษาจังหวัดนครนายก : การวิเคราะห์เชิงสังคมวิทยาen_US
dc.title.alternativeGuidelines for the enhancement of community participation in basic education provision at the school level in Nakhon Nayok province : a sociological analysisen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameครุศาสตรดุษฎีบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาเอกen_US
dc.degree.disciplineพัฒนศึกษาen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisoramornwich.n@chula.ac.th-
dc.email.advisorsupavadee.m@chula.ac.th-
Appears in Collections:Edu - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Warunee_su_front_p.pdfหน้าปก และบทคัดย่อ928.44 kBAdobe PDFView/Open
Warunee_su_ch1_p.pdfบทที่ 11.39 MBAdobe PDFView/Open
Warunee_su_ch2_p.pdfบทที่ 25.4 MBAdobe PDFView/Open
Warunee_su_ch3_p.pdfบทที่ 31.27 MBAdobe PDFView/Open
Warunee_su_ch4_p.pdfบทที่ 43.55 MBAdobe PDFView/Open
Warunee_su_ch5_p.pdfบทที่ 53.59 MBAdobe PDFView/Open
Warunee_su_ch6_p.pdfบทที่ 61.96 MBAdobe PDFView/Open
Warunee_su_back_p.pdfบรรณานุกรม และภาคผนวก1.05 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.