Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/66579
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorปุณณรัตน์ พิชญไพบูลย์-
dc.contributor.authorอโณทัย องกิตติกุล-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะครุศาสตร์-
dc.date.accessioned2020-06-25T06:48:00Z-
dc.date.available2020-06-25T06:48:00Z-
dc.date.issued2548-
dc.identifier.isbn9741737467-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/66579-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2548en_US
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีจุดประสงค์เพื่อศึกษาผลการสอนศิลปะโดยใช้วิธีศิลปะวิจารณ์ตามทฤษฎีของเอ็ดมันด์ เบิร์ก เฟลด์แมน ที่มีต่อความสามารถในการวิจารณ์งานศิลปะของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย คือ นักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนสาธิตจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (ฝ่ายประถม) ภาคปลาย ปีการศึกษา 2548 ที่เรียนวิชาศิลปศึกษา จำนวน 33 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยสร้างขึ้นโดยผู้วิจัย ได้แก่ 1) แบบทดสอบการวิจารณ์งานศิลปะ 2)แผนการจัดการเรียนรู้ 3)แบบสังเกตพฤติกรรมผู้เรียน และ 4)แบบรายงานตนเองของผู้เรียน ทำการวิเคราะห์ข้อมูลโดยการหาค่ามัชฌิมเลขคณิต(X) ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (s.D.) การทดลองค่าที (t-test) ค่าความถี่ และค่าร้อยละ โดยใช้โปรแกรมสำเร็จรูป SPSS ผลการวิจัยพบว่า 1.นักเรียนมีความสามารถในการวิจารณ์งานศิลปะสูงขึ้น หลังจากการสอนศิลปะโดยใช้วิธีศิลปวิจารณ์ตามทฤษฎีเอ็ดมันด์ เบิร์ก เฟลด์แมน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 2.เมื่อพิจารณาแต่ละประเด็นในการวิจารณ์ ผู้เรียนมีค่าเฉลี่ยของคะแนนการวิจารณ์เกี่ยวกับการพรรณนามากที่สุด และทางด้านพฤติกรรม ผู้เรียนมีการพรรณนาถึงเส้น รูปร่างรูปทรงต่างๆ มากที่สุด 3.การประเมินตนเองและการแสดงความคิดเห็นของนักเรียน พบว่านักเรียนทำกิจกรรมที่ได้รับมอบหมายให้ทันที มีความตั้งใจในการทำงานอย่างต่อเนื่อง ตลอดจนนักเรียนมีความคิดเห็นว่าในการเรียนการสอน นักเรียนรู้สึกสนุกสนานเพลิดเพลิน เพราะมีกิจกรรมที่หลากหลายที่ได้จากการเรียนศิลปะโดยใช้วิธีศิลปวิจารณ์ตามทฤษฎีของเอ็ดมันด์ เบิร์ก เฟลด์แมน การสอนศิลปะโดยใช้วิธีศิลปวิจารณ์ ผู้เรียนควรมีความรู้ความเข้าใจพื้นฐานเกี่ยวกับองค์ประกอบศิลป์มาพอสมควร อันเป็นส่วนสำคัญที่เป็นพื้นฐานในการวิจารณ์งานศิลปะ อีกทั้งบรรยากาศในการเรียนการสอน ผู้สอนควรกระตุ้นให้ผู้เรียนเกิดความสนุกสนาน ความมั่นใจในการตอบคำถามหรือแสดงความคิดเห็น และการสอนในรูปแบบดังกล่าว สามารถส่งเสริมการใช้ความคิดวิเคราะห์มากขึ้น และทำให้ผู้เรียนได้เปิดกว้างทางความคิด ได้ความคิดที่หลากหลาย เกิดความคิดสร้างสรรค์จินตนาการสามารถนำไปประยุกต์ใช้ในผลงานศิลปะปฏิบัติของตนได้-
dc.description.abstractalternativeThe purpose of this research was to study the effects of art teaching by using Edmund Feldman’s theory-based art criticism method on art work critique abilities of prathom suksa six students. The sample group of the research was 33 prathom suksa six students at Chulalongkorn University demonstration elementary school in the second semester of academic year 2005. The research instruments construction by the researcher were 1) art work critique test. 2) lesson plan 3) student behaviour observation from, and 4) student self-report. The obtained data were analyzed by using means, standard deviations, t-test frequencies and percentage. The research results were revealed; 1) Art work critique abilities of prathom suksa six students after learning art by using Edmund Feldman’s method was higher at the .05 level of significance. 2) When consider only the topics in criticize the students have their average score on the describe; however in the behaviour side, learner mostly describe on line color, and shape. 3) Student’s self evaluation and opinions, it was found that students had done activities as time they were assigned. They were pleasant during the various activities which were the Edmund Feldman’s art criticism theory. The research suggested that to teach art by using the art criticism model, students should have Knowledge about visual art basic elements, which is a tool for criticize an art work. Furthermore, instructor should encourage class to keep students pleasantly to answer any questions or to show opinions. This teaching method could be support about critical thinking and made student thinking opened wide got many thinking and idea. Students could be applied their artwork.-
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectศิลปกรรม -- การศึกษาและการสอนen_US
dc.subjectศิลปวิจารณ์en_US
dc.subjectArt -- Study and teaching-
dc.subjectArt criticism-
dc.titleผลการสอนศิลปะโดยใช้วิธีศิลปวิจารณ์ตามทฤษฎีของเอ็ดมันด์ เบิร์ก เฟลด์แมนที่มีต่อความสามารถในการวิจารณ์งานศิลปะของนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6en_US
dc.title.alternativeEffects of teaching art by using Edmund Burke Feldman's theory-based art criticism method on art work critique abilities of prathom suksa six studentsen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameครุศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineศิลปศึกษาen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorPoonarat.P@Chula.ac.th-
Appears in Collections:Edu - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Anotai_on_front_p.pdf940.9 kBAdobe PDFView/Open
Anotai_on_ch1_p.pdf987.47 kBAdobe PDFView/Open
Anotai_on_ch2_p.pdf2.74 MBAdobe PDFView/Open
Anotai_on_ch3_p.pdf1.46 MBAdobe PDFView/Open
Anotai_on_ch4_p.pdf1.38 MBAdobe PDFView/Open
Anotai_on_ch5_p.pdf1.43 MBAdobe PDFView/Open
Anotai_on_back_p.pdf3.13 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.