Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/66773
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวรศักดิ์ มหัทธโนบล-
dc.contributor.authorสมสำเร็จ ทวีคำ-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะรัฐศาสตร์-
dc.coverage.spatialลาวกับจีน-
dc.date.accessioned2020-07-02T02:32:13Z-
dc.date.available2020-07-02T02:32:13Z-
dc.date.issued2548-
dc.identifier.isbn9745327387-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/66773-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ร.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2548en_US
dc.description.abstractวิทยานิพนธ์ฉบับนี้มุ่งศึกษาพัฒนาการความสัมพันธ์ระหว่างลาวกับจีน ยุคหลังสงครามเย็น โดยวิเคราะห์ถึงปัจจัยที่เป็นสาเหตุผลักดันให้ทั้งสองประเทศดำเนินการปรับความความสัมพันธ์ระหว่างกัน อันนำไปสู่ความร่วมมือระหว่างกันอย่างใกล้ชิดในช่วงเวลาดังกล่าว การศึกษานี้ได้นำเอาแนวความคิดว่าด้วยการพึ่งพาอาศัยซึ่งกันและกันเป็นกรอบในการวิเคราะห์ โดยวิทยานิพนธ์ฉบับนี้มีสมมติฐานที่ว่า “ความสัมพันธ์ใกล้ชิดระหว่างลาวกับจีน ยุคหลังสงครามเย็น เป็นผลมาจากการเปลี่ยนแปลงของระบบระหว่างประเทศ” จากการศึกษาพบว่า การเปลี่ยนแปลงสภาพแวดล้อมระหว่างประเทศและภายในประเทศเป็นปัจจัยหลักที่ทำให้ประเทศลาวปรับความสัมพันธ์กับจีน ในขณะที่จีนดำเนินนโยบายปรับความสัมพันธ์กับลาวนั้น เพราะปัจจัยสภาพแวดล้อมภายในของประเทศจีนที่ต้องการพัฒนาเศรษฐกิจ รวมทั้งการรักษาไว้ถึงความมั่นคงของจีนด้วย ดังนั้น จึงทำให้ประเทศทั้งสองจำเป็นต้องพึ่งพาอาศัยซึ่งกันและกัน เพื่อให้บรรลุตามจุดประสงค์ดังกล่าว ด้วยเหตุนี้ ลาวและจีนจึงมีการพัฒนาความร่วมมือระหว่างกันอย่างสร้างสรรค์ อันนำไปสู่ความสัมพันธ์อย่างใกล้ชิดระหว่างกัน ซึ่งที่สำคัญความร่วมมือระหว่างกันดังกล่าวอยู่บนพื้นฐานของผลประโยชน์ร่วมกัน-
dc.description.abstractalternativeThe main theme of this thesis is a study on Sino-Lao relations in the post-cold war era. Employing the concept of interdependence as a framework of analysis, the thesis analyses factors affecting Laos and China relations since the end of cold war. The hypothesis of this thesis is that diplomatic normalization and close relations between these two countries in the post-cold war era, was determined by their respective economic and security interests in the context of a changing international situation. The research founds that international and internal changes are main factors affecting Laos’s normalization of relations with the People’s Republic of China in the post-cold war era. At the same time, China’s decision to normalize relations with Lao is because of its desire to promote its economic and security interests. Thus since the end of cold war, mutual interests have been crucial for the cooperation.-
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectสงครามเย็นen_US
dc.subjectลาว -- ความสัมพันธ์กับต่างประเทศ -- จีนen_US
dc.subjectจีน -- ความสัมพันธ์กับต่างประเทศ -- ลาวen_US
dc.subjectCold war-
dc.subjectLaos -- Foreign relations -- China-
dc.subjectChina -- Foreign relations -- Laos-
dc.titleความสัมพันธ์ระหว่างลาวกับจีน ยุคหลังสงครามเย็นen_US
dc.title.alternativeSino-Lao Relations in the Post-Cold War Eraen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameรัฐศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineความสัมพันธ์ระหว่างประเทศen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorVorasakdi.M@Chula.ac.th-
Appears in Collections:Pol - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Somsamleth_th_front_p.pdfหน้าปก บทคัดย่อ และสารบัญ944.47 kBAdobe PDFView/Open
Somsamleth_th_ch1_p.pdfบทที่ 11.43 MBAdobe PDFView/Open
Somsamleth_th_ch2_p.pdfบทที่ 22.62 MBAdobe PDFView/Open
Somsamleth_th_ch3_p.pdfบทที่ 32.96 MBAdobe PDFView/Open
Somsamleth_th_ch4_p.pdfบทที่ 41.75 MBAdobe PDFView/Open
Somsamleth_th_ch5_p.pdfบทที่ 5732.85 kBAdobe PDFView/Open
Somsamleth_th_back_p.pdfบรรณานุกรม และภาคผนวก1.14 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.