Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/67710
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorบุญเรือง เนียมหอม-
dc.contributor.authorคณิตา สุขจีน-
dc.date.accessioned2020-08-25T08:57:34Z-
dc.date.available2020-08-25T08:57:34Z-
dc.date.issued2548-
dc.identifier.isbn9745318418-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/67710-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2548en_US
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความคิดเห็นของครูผู้สอนกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์เกี่ยวกับการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนตามแนวคิดซิปปา กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ศึกษาความคิดเห็นของผู้เชี่ยวชาญที่มีต่อรูปแบบศูนย์วิทยาการโดยบูรณาการแนวคิดซิปปา และเพื่อสร้างรูปแบบศูนย์วิทยาการโดยบูรณาการแนวคิดซิปปากลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ สำหรับช่วงชั้นที่ 2 (ประถมศึกษาปีที่ 4-6) สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาลำพูน และเพื่อศึกษาความพึงพอใจของครูผู้สอนกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ต่อการใช้ ศูนย์วิทยาการโดยบูรณาการแนวคิดซิปปา กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ สำหรับช่วงชั้นที่ 2 (ประถมศึกษาปีที่ 4-6) สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาลำพูน การวิจัยพบว่า 1. รูปแบบศูนย์วิทยาการโดยบูรณาการแนวคิดซิปปา กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ สำหรับช่วงชั้นที่ 2 (ประถมศึกษาปีที่ 4-6) สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาลำพูน สรุปได้ 4 ด้านดังนี้ (1) ด้านการวางแผนผังและการจัดโครงสร้างของศูนย์วิทยาการ แบ่งเป็น 2 ประเภท คือการวางผังสำหรับเนื้อที่ส่วนต่าง ๆ ของศูนย์วิทยาการ และการจัด โครงสร้างของศูนย์วิทยาการ (2) การจัดบุคลากรของศูนย์วิทยาการ (3) การเลือกและการจัดวัสดุอุปกรณ์ สื่อการเรียนการสอนของศูนย์วิทยาการ แบ่งเป็น 5 ประเภท คือการเลือกวัสดุอุปกรณ์ สื่อการเรียนการสอน การจัดหาวัสดุอุปกรณ์สื่อการเรียนการสอน การประเมินวัสดุอุปกรณ์ สื่อการเรียนการสอน การจัดเก็บวัสดุอุปกรณ์ สื่อการเรียนการสอน และการจัดให้มีวัสดุอุปกรณ์ สื่อการเรียนการสอน (4) การจัดกิจกรรมของศูนย์วิทยาการ แบ่งเป็น 2 ประเภท คือ การจัดกิจกรรมการบริการ และการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์ 2. ความพึงพอใจในการใช้ศูนย์วิทยาการโดยบูรณาการแนวคิดซิปปา กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์สำหรับช่วงชั้นที่ 2 ประถมศึกษาปีที่ 4-6 สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาลำพูน แยกเป็น (1) ความพึงพอใจของครูผู้สอน ซึ่งผลการวิจัยพบว่ามีความพึงพอใจอยู่ในระดับมากถึงมากที่สุด แบ่งเป็น 9 ด้าน คือ ด้านการวางผังสำหรับเนื้อที่ส่วนต่าง ๆ ด้านการจัดโครงสร้าง ด้านการเลือกวัสดุอุปกรณ์ สื่อการเรียนการสอน ด้านการจัดหาวัสดุอุปกรณ์ สื่อการเรียนการสอน ด้านการประเมินวัสดุอุปกรณ์ สื่อการเรียนการสอน ด้านการจัดเก็บวัสดุอุปกรณ์ สื่อการเรียนการสอน ด้านการจัดให้มีวัสดุอุปกรณ์ สื่อการเรียนการสอน ด้านการจัดกิจกรรมการบริการ และด้านการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน วิทยาศาสตร์ (2) ความพึงพอใจของนักเรียน ซึ่งผลการวิจัยพบว่ามีความพึงพอใจอยู่ในระดับมากถึงมากที่สุด ซึ่งแบ่งเป็น 4 ด้าน คือ ความพึงพอใจด้านการวางผังสำหรับเนื้อที่ส่วนต่าง ๆ ความพึงพอใจด้านการจัดใช้วัสดุอุปกรณ์ สื่อการเรียนการสอน ความพึงพอใจด้านการจัดกิจกรรมการบริการ และความพึงพอใจด้านการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์-
dc.description.abstractalternativeThe purpose of this study is to investigate the opinion of the teachers in the science content cluster about the setting of learning and instructing activity following CIPPA concept and to create the CIPPA learning resource center in science content for second key stage, primary education grade 4-6, under the jurisdiction of Education Office, Lamphun Educational District. And to investigate the satisfaction of the teachers เท the science content cluster and primary education grade 6 students to the use of learning resource center model by integrating CIPPA concept science content cluster for second key stage, primary education grade 4-6, under the jurisdiction of Education Office, Lamphun Educational District. The findings of the study show that 1. The model of Learning resource center by integrating CIPPA concept science content cluster for second key stage, primary education grade 4-6, under the jurisdiction of Education Office, Lamphun Educational District can be concluded in to 4 dimensions. (1) in the dimension of the laying out and the constructing the structure of the learning resource center can be divided into 2 categories: the laying out each part of the learning resource center area, and the constructing the structure of the learning resource center. (2) The personnel managing of the learning resource center (3) The selecting, preparing, evaluating, storing, and providing learning material media of the learning resource center (4) The setting of the activities of the learning resource center which can be divided into 2 categories: the setting of service activities, and setting of science learning and instructing activities. 2. The satisfaction of the use of the learning resource center model by integrating CIPPA concept in science content for second key stage primary education grade 4-6 under the jurisdiction of Education Office, Lamphun Educational District can be divided into (1) The satisfaction of the teachers, the results of the study show that the satisfaction is in the level of much to very much. The satisfaction of the teachers can be divided into 9 dimensions: the laying out of the area, constructing the structure, selecting, seeking for, storing, and providing learning material and media, setting of activities and services, setting science learning and instructing activities. (2) The satisfaction of the students, the results of the study show that the satisfaction of the students is in the level of much to very much. The satisfaction of the students can be divided into 4 dimensions: the satisfaction in the laying out of the area, the use of learning and instructing material and media, the setting activities and services, and the setting of learning and instructing science.-
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2005.631-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectครูวิทยาศาสตร์en_US
dc.subjectการสอนแบบผู้เรียนเป็นศูนย์กลางen_US
dc.subjectวิทยาศาสตร์ -- การศึกษาและการสอน (ประถมศึกษา) -- กิจกรรมการเรียนการสอนen_US
dc.subjectศูนย์การเรียนen_US
dc.subjectการศึกษาขั้นประถม -- ไทย -- ลำพูนen_US
dc.subjectScience teachersen_US
dc.subjectScience -- Study and teaching (Elementary) -- Activity programsen_US
dc.subjectStudent-centered learningen_US
dc.titleการพัฒนารูปแบบศูนย์วิทยาการโดยบูรณาการแนวคิดซิปปา กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ สำหรับช่วงชั้นที่ 2 (ประถมศึกษาปีที่ 4-6) สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาลำพูนen_US
dc.title.alternativeThe development of learning resource center model by intagrating CIPPA concept in science content cluster for second key stage, primary education grade 4-6, under the Jurisdiction of Education Office, Lamphun Educational Districten_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameครุศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineโสตทัศนศึกษาen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorBoonruang.N@Chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2005.631-
Appears in Collections:Edu - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Kanita_so_front_p.pdfหน้าปก บทคัดย่อ และสารบัญ971.11 kBAdobe PDFView/Open
Kanita_so_ch1_p.pdfบทที่ 11.38 MBAdobe PDFView/Open
Kanita_so_ch2_p.pdfบทที่ 24.49 MBAdobe PDFView/Open
Kanita_so_ch3_p.pdfบทที่ 3995.59 kBAdobe PDFView/Open
Kanita_so_ch4_p.pdfบทที่ 42.53 MBAdobe PDFView/Open
Kanita_so_ch5_p.pdfบทที่ 51.44 MBAdobe PDFView/Open
Kanita_so_back_p.pdfรายการอ้างอิงและภาคผนวก1.58 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.