Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/67759
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสุจิตรา จงสถิตย์วัฒนา-
dc.contributor.advisorณัฐพร พานโพธทอง-
dc.contributor.authorธีรนุช โชคสุวณิช-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะอักษรศาสตร์-
dc.date.accessioned2020-08-28T04:46:05Z-
dc.date.available2020-08-28T04:46:05Z-
dc.date.issued2543-
dc.identifier.issn9743465839-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/67759-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (อ.ด.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2543en_US
dc.description.abstractการศึกษาวิเคราะห์ภาษาของบทความแสดงความคิดเห็นในหนังสือพิมพ์ไทย(พ.ศ. 2536-2540) มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษารูปแบบ องค์ประกอบ ลีลาภาษา และกลวิธีการแสดงความคิดเห็นของบทความแสดงความคิดเห็นโดยใช้ข้อมูล หนังสือพิมพ์ไทย 6 รายชื่อฉบับ คือ ไทยรัฐ เดลินิวส์ สยามรัฐ มติชน สยามโพสต์ และกรุงเทพธุรกิจ ตั้งแต่ปีพ.ศ. 2536-2540 ผลการศึกษาวิจัยพบว่าบทความแสดงความคิดเห็นมุ่งจะแสดงความคิดเห็นต่อประเด็นใดประเด็นหนึ่ง ปัญหาและวิกฤตการณ์อย่างน่าเชื่อถือเพื่อชักจูงใจให้ผู้อ่านคล้อยตาม บทความแสดงความคิดเห็นในหนังสือพิมพ์ไทย 2 รูปแบบ คือบทบรรณาธิการ และบทความประจำ มีองค์ประกอบ 2 ส่วน ได้แก่ ส่วนนำ และเนื้อเรื่อง และองค์ประกอบ 3 ส่วน ได้แก่ ส่วนนำ เนื้อเรื่อง และส่วนสรุป มีลีลาการแสดงความคิดเห็นตามวัตถุประสงค์ร่วมกันเป็นการแสดงความคิดเห็นเสนอแนะ คัดค้านหรือโต้แย้ง ตักเตือน และสนับสนุนหรือยกย่อง สรรเสริญ บทความแสดงความคิดเห็นแต่ละรูปแบบมีลีลาร่วมกันและลีลาเฉพาะกล่าวคือ ลีลาร่วมได้แก่ รูปแบบการนำเสนอ องค์ประกอบของบทความ ประเภทการแสดงความคิดเห็น และกลวิธีการแสดงความคิดเห็น อย่างไรก็ตาม บทบรรณาธิการ และบทความประจำมีการใช้ลีลาภาษาที่แตกต่าง กันทั้งในด้านการใช้คำ ประโยคและย่อหน้า ทำให้ลีลาภาษาของบทบรรณาธิการมีลีลาที่เป็นทางการและภาษาเขียน ทำให้เกิดความจริงจัง น่าเชื่อถือ และทำให้ผู้อ่านคล้อยตามเพราะบทบรรณาธิการเป็นบทความแสดงความคิดเห็นที่เขียนในนามหนังสือพิมพ์ทั้งฉบับ แต่ลีลาภาษาของบทความประจำเป็นลีลาที่ไม่เป็นทางการและมีลักษณะภาษาพูด เพื่อให้เกิดความใกล้ชิด เป็นกันเอง เสมือนผู้เขียนกำลังพูดคุยกับผู้อ่าน เพื่อชักจูงใจให้คล้อยตามความคิดเห็นของผู้เขียนในที่สุดen_US
dc.description.abstractalternativeThe purpose of this study is to investigate forms, components, language styles and methods of expressing opinions in opinion articles. The data were collected from six Thai newspapers, namely Thai Rath, Daily News, Siam Rath, Matichon, Siam Post and Krungthep Thurakij, published in the years between 1993 and 1997. From the study, it was found that opinion articles aim at expressing opinions of the writer upon a certain issue, problem or crisis in order to convince the readers. Opinion articles in Thai newspapers appear in two forms which are editorials and regular columns. They can comprise two components: introduction and body or three components: introduction, body and conclusion. The objectives of writing shared by both forms of opinion articles are making suggestions, voicing disagreement or opposition, giving warnings and giving support and praise. Each form of opinion articles has both shared and specific language styles. The shared language styles include the style of presentation, the structure of the text, the style of expressing opinions, and methods of expressing opinions. However, the editorials and the regular columns are different in terms of language styles which include the usage of words, sentences and paragraphs. Since editorials are written on behalf of the newspapers, formal written language style is used to promote its reliability and to convince the readers. On the other hand, the informal and colloquial language style is used in regular columns in order to cultivate cordiality as if the writer were talking to the readers to persuade them to agree with his opinion.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2000.217-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectหนังสือพิมพ์ -- ภาษาen_US
dc.subjectหนังสือพิมพ์ไทยen_US
dc.subjectภาษาไทย -- การใช้ภาษาen_US
dc.subjectการสื่อข่าวและการเขียนข่าวen_US
dc.subjectปริญญาดุษฎีบัณฑิตen_US
dc.subjectNewspapers -- Languageen_US
dc.titleการศึกษาวิเคราะห์ภาษาของบทความแสดงความคิดเห็นในหนังสือพิมพ์ไทย (พ.ศ. 2536-2540)en_US
dc.title.alternativeAn analytical study of the language of opinion articles in Thai newspapers (1993-1997)en_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameอักษรศาสตรดุษฎีบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาเอกen_US
dc.degree.disciplineภาษาไทยen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorSuchitra.C@Chula.ac.th-
dc.email.advisorไม่มีข้อมูล-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2000.217-
Appears in Collections:Arts - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Teeranoot_ch_front.pdfหน้าปกและบทคัดย่อ303.27 kBAdobe PDFView/Open
Teeranoot_ch_ch1.pdfบทที่ 1300.62 kBAdobe PDFView/Open
Teeranoot_ch_ch2.pdfบทที่ 2980.6 kBAdobe PDFView/Open
Teeranoot_ch_ch3.pdfบทที่ 31.15 MBAdobe PDFView/Open
Teeranoot_ch_ch4.pdfบทที่ 42.13 MBAdobe PDFView/Open
Teeranoot_ch_ch5.pdfบทที่ 51.11 MBAdobe PDFView/Open
Teeranoot_ch_ch6.pdfบทที่ 6115.38 kBAdobe PDFView/Open
Teeranoot_ch_back.pdfบรรณานุกรมและภาคผนวก2.31 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.