Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/68086
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวัชรี ทรัพย์มี-
dc.contributor.authorดวงพร ตันติธรรมานนท์-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะจิตวิทยา-
dc.date.accessioned2020-09-22T03:47:22Z-
dc.date.available2020-09-22T03:47:22Z-
dc.date.issued2542-
dc.identifier.issn9743343326-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/68086-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ศศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2542-
dc.description.abstractการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของโปรแกรมการฝึกพฤติกรรมกล้าแสดงออกที่เหมาะสมตามแนวคิดของเคลลี่ เพื่อลดพฤติกรรทก้าวร้าวในนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 กลุ่มตัวอย่างเป็นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนเบญจมราชานุสรณ์ จังหวัดนนทบุรี ในปีพุทธศักราช 2542 ที่มีพฤติกรรมก้าวร้าว และไม่เป็นบุคคลปัญญาอ่อนหรือมีอาการทางจิต และกำลังศึกษาอยู่ในโรงเรียน จำนวน 16 คน แบ่งเป็นกลุ่มทดลอง และกลุ่มควบคุม กลุ่มละ 8 คน โดยกลุ่มทดลองได้รับการฝึกพฤติกรรมกล้าแสดงออกที่เหมาะสมตามแนวคิดของเคลลี่ ซึ่งมีจำนวนการฝึก 10 ครั้ง สัปดาห์ละ 3 ครั้ง ครั้งละ 1-1½ ชั่วโมง สำหรับ กลุ่มควบคุมไม่ได้รับการฝึกพฤติกรรมกล้าแสดงออกที่เหมาะสมตามแนวคิดของ โดยมีเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบวัดพฤติกรรมก้าวร้าว ผลการวิจัย พบว่า 1.กลุ่มทดลองที่ได้รับการฝึกพฤติกรรมกล้าแสดงออกที่เหมาะสมตามแนวคิดของเคลลี่ มีระดับพฤติกรรมก้าวร้าวลดลงก่อนการทดลองอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .001 2.กลุ่มทดลองที่ได้รับการฝึกพฤติกรรมกล้าแสดงออกที่เหมาะสมตามแนวคิดของเคลลี่ มีระดับพฤติกรรมก้าวร้าวลดลงกว่ากลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .001-
dc.description.abstractalternativeThe purpose of this research was to study the effect of Kelley’s Assertive Training Program on reducing aggressive behavior of Mathayomsuksa Three students. The samples were collected from totally 16 students enrolled in academic year 1999 at Mathayomsuksa Three in Benjamarachansorn School, Nonthaburi, those whose behavior was aggressive, normal intelligent and well psychological They were randomly assigned into the experimental and control groups. Each group consisted of 8 students. The experimental group, participated in Kelley’s Assertive Training Program for ten sessions, there sessions per week and 1-1½ hours per session But whereas the control group did not . T-test was utilized for analysis. The Aggressive Behavior Questionnaire was used as a tool to assess aggressive behavior. The results are as follows : 1. After participating in Kelley’s Assertive Training Program, the experimental group showed the significant decrease in the level of their aggressive behavior at the .001 level of significance. 2. After participating in Kelley’s Assertive Training Program, the experimental group gained lower aggressive behavior level than the control group at the .001 level of significance.-
dc.language.isoth-
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
dc.subjectความก้าวร้าว-
dc.subjectการแสดงออก (จิตวิทยา)-
dc.titleผลของโปรแกรมการฝึกพฤติกรรมกล้าแสดงออกที่เหมาะสมตามแนวคิดของเคลลี่ เพื่อลดพฤติกรรมก้าวร้าวในนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3-
dc.title.alternativeThe effect of Kelley's assertive training program on reducing aggressive behavior of mathayomsuksa three students-
dc.typeThesis-
dc.degree.nameศิลปศาสตรมหาบัณฑิต-
dc.degree.levelปริญญาโท-
dc.degree.disciplineจิตวิทยาการปรึกษา-
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
Appears in Collections:Psy - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Duangporn_ta_front_p.pdfหน้าปก บทคัดย่อ และสารบัญ837.62 kBAdobe PDFView/Open
Duangporn_ta_ch1_p.pdfบทที่ 12.53 MBAdobe PDFView/Open
Duangporn_ta_ch2_p.pdfบทที่ 2904.13 kBAdobe PDFView/Open
Duangporn_ta_ch3_p.pdfบทที่ 3647.75 kBAdobe PDFView/Open
Duangporn_ta_ch4_p.pdfบทที่ 4948.5 kBAdobe PDFView/Open
Duangporn_ta_ch5_p.pdfบทที่ 5753.39 kBAdobe PDFView/Open
Duangporn_ta_back_p.pdfบรรณานุกรม และภาคผนวก2.7 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.