Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/68173
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorนลิน นิลอุบล-
dc.contributor.advisorเพชรรัตน์ จันทรทิณ-
dc.contributor.advisorวาสนา โตเลี้ยง-
dc.contributor.authorธนาสาร ขาวสอาด-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์-
dc.date.accessioned2020-09-25T03:48:43Z-
dc.date.available2020-09-25T03:48:43Z-
dc.date.issued2542-
dc.identifier.issn9743348832-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/68173-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2542-
dc.description.abstractในการแยกเชื้อราสาเหตุของโรคใบจุดจากใบเปล้าน้อยที่นํามาจากจังหวัดประจวบคีรีขันธ์ และการศึกษา ลักษณะเบื้องต้น พบว่า โรคดังกล่าวเกิดจากเชื้อซึ่งมีลักษณะเหมือนเชื้อรา Glomerella cingulata เชื้อรานี้ สร้างสปอร์ได้ดีที่สุด เมื่อเลี้ยงบนอาหาร Czapek’ s agar โดยให้แสง 12 ชั่วโมงต่อวัน ในการปลูกเชื้อ G. cingulata เพื่อชักนําให้เกิดโรคใบจุดบนใบเปล้าน้อย พบว่า เปอร์เซ็นต์ของพื้นที่ใบ ที่เป็นโรค จะแปรผันตามปริมาณสปอร์ที่ใช้ในการปลูกเชื้อ โดยความเข้มข้นของสปอร์เท่ากับ 10 สปอร์ต่อ มิลลิลิตร ซึ่งเป็นความเข้มข้นสูงสุดที่ทดสอบ ทำให้เกิดพื้นที่ใบเป็นโรคเฉลี่ย เท่ากับ 15.64 เปอร์เซ็นต์ ของพื้น ที่ใบทั้งหมดต่อหนึ่งยอด โดยในการศึกษาการเข้าทำลายใบเปล้าน้อยของเชื้อรา G. cingulata ด้วยกล้อง จุลทรรศน์อิเลคตรอนแบบส่องกราด พบว่า สปอร์ของเชื้อราจะงอกเส้นใยและสร้างแอปเพรสซอเรียมเพื่อแทงเข้าสู่ พืชภายหลังการปลูกเชื้อ 48 ชั่วโมง เป็นต้นไป จากการจัดแบ่งกลุ่มใบที่เกิดโรคตามระดับความรุนแรงของโรคที่ ปรากฎบนใบออกเป็น 6 กลุ่ม แล้ววิเคราะห์หาปริมาณสารเปลาโนทอลที่มีอยู่ในใบทั้ง 6 กลุ่ม เทียบกับ ปริมาณสารเปลาโนทอลในใบปกติที่เป็นสายพันธุ์เดียวกัน คือ IBGE 2 พบว่า ปริมาณสารเปลาโนทอลในใบที่ เกิดโรคทั้ง 6 ระดับ ไม่มีความแตกต่างกัน และไม่แตกต่างจากปริมาณสารเปลาโนทอลในใบปกติอย่างมีนัย สำคัญทางสถิติ-
dc.description.abstractalternativePathogenic fungus causing leave - spot disease of Plau - Noi (Croton sublyratus Kurz.) was isolated from the Play - Noi leaves collected from Prachaub Khirikhan province. It was similar to Glomerella cingulata. When cultivated on Czapek's agar with 12 - h illumination, it gave best spore formation. When G. cingulata was inoculated to Plau - Noi leaves, the percentage of infected area was varied in correlation with spore density used for infection. The highest spore density tested of 10° spores / ml caused 15.64 % infected area on the leaf per one tip. After inoculation and observation of attacking the leaf surface with spores by scanning electron microsope, the spore germination and the formation of appressorium occurred at 48 hr. The infected leaves were classified according to their severity into 6 groups. Determination of plaunotol from the infected leaves of all groups in comparison with that of the normal leaves from Plau - Noi IBGE 2 showed that there were no significant differences among all groups including the normal-
dc.language.isoth-
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
dc.subjectเปลาโนทอล-
dc.subjectโรคใบจุด-
dc.subjectเปล้าน้อย (พืช)-
dc.subjectGlomerella cingulata-
dc.titleการเกิดโรคใบจุดของเปล้าน้อย (Croton sublyratus Kurz.) โดย Glomerella cingulata และผลกระทบต่อปริมาณสารเปลาโนทอลในใบ-
dc.title.alternativeLeaf spot disease of Plau Noi (Croton sublyratus Kurz.) by Glomerella cingulata and its effect on plaunotol level-
dc.typeThesis-
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต-
dc.degree.levelปริญญาโท-
dc.degree.disciplineเทคโนโลยีชีวภาพ-
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
Appears in Collections:Sci - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Thanasan_kh_front_p.pdfหน้าปก บทคัดย่อ และสารบัญ941.54 kBAdobe PDFView/Open
Thanasan_kh_ch1_p.pdfบทที่ 11.71 MBAdobe PDFView/Open
Thanasan_kh_ch2_p.pdfบทที่ 2976.15 kBAdobe PDFView/Open
Thanasan_kh_ch3_p.pdfบทที่ 31.27 MBAdobe PDFView/Open
Thanasan_kh_ch4_p.pdfบทที่ 4799.92 kBAdobe PDFView/Open
Thanasan_kh_back_p.pdfบรรณานุกรม และภาคผนวก974.91 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.