Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/6832
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorวิภา หอมศิริ-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะอักษรศาสตร์-
dc.date.accessioned2008-05-08T03:18:29Z-
dc.date.available2008-05-08T03:18:29Z-
dc.date.issued2547-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/6832-
dc.description.abstractการสำรวจครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อเก็บข้อมูลพื้นฐานส่วนบุคคล ซึ่งประกอบด้วยเพศ อายุ สายการเรียน วิชาที่เลือกสอบเข้ามาศึกษา คณะและมหาวิทยาลัยที่เลือกตอนสมัครสอบ และข้อมูลทั่วไป ซึ่งประกอบด้วยเหตุผลที่เลือกเรียนที่คณะอักษรศาสตร์ การรู้จักชื่อเสียง/สาขาวิชาของคณะอักษรศาสตร์ สาขาวิชาที่สนใจจะเลือกเป็นวิชาเอก ตลอดจนอาชีพที่นักเรียนสนใจเมื่อจบจากคณะอักษรศาสตร์ ผลการสำรวจพบว่า นักเรียนผู้สอบผ่านข้อเขียนในการสอบคัดเลือกเข้าศึกษาในคณะอักษรศาตร์ส่วนใหญ่เรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 สายศิลป์-ฝรั่งเศส ร้อยละ 50.80 และเลือกสอบเข้ามาด้วยวิชาภาษาฝรั่งเศส ร้อยละ 48.23 โดยเลือกคณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยเป็นอันดับ1 ร้อยละ 91.00 สาเหตุที่นักเรียนเลือกเรียนที่คณะอักษรศาสตร์ เพราะต้องการพัฒนาความรู้ความสามารถด้านภาษา ร้อยละ 80.06 นักเรียนจำนวนสูงสุด ร้อยละ 76.53 รู้จักชื่อเสียงของคณะอักษรศาสตร์จากคนรอบข้าง เช่น ครอบครัว ครู รุ่นพี่ เพื่อน นักเรียนส่วนใหญ่รู้ว่าคณะอักษรศาสตร์มีสาขาวิชาภาษาอังกฤษ สำหรับสาขาวิชาที่นักเรียนส่วนใหญ่ ร้อยละ 32.80 สนใจจะเลือกเป็นวิชาเอก คือ สาขาวิชาภาษาอังกฤษ นักเรียนส่วนใหญ่ร้อยละ 52.09 คาดหวังว่าเมื่อสำเร็จการศึกษาจากคณะอักษรศาสตร์แล้วจะประกอบอาชีัพล่าม/นักแปลen
dc.format.extent314508 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะอักษรศาสตร์ -- นิสิตen
dc.titleลักษณะของนักเรียนผู้สอบผ่านข้อเขียนในการสอบคัดเลือกเข้าศึกษา ในคณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีการศึกษา 2547 : รายงานการวิจัยen
dc.typeTechnical Reportes
dc.email.authorไม่มีข้อมูล-
Appears in Collections:Arts - Research Reports

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
wipa_info.pdf307.14 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.