Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/6848
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorประทุมพร วัชรเสถียร-
dc.contributor.advisorสมพงศ์ ชูมาก-
dc.contributor.advisorสรวิศ ชัยนาม-
dc.contributor.authorอกนิษฐ์ ปัทมินทร-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะรัฐศาสตร์-
dc.date.accessioned2008-05-10T08:36:00Z-
dc.date.available2008-05-10T08:36:00Z-
dc.date.issued2544-
dc.identifier.isbn9740307353-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/6848-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ร.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2544en
dc.description.abstractวิทยานิพนธ์ฉบับนี้ มีวัตถุประสงค์ในการศึกษาถึงสาเหตุของบทบาทที่เป็นไปอย่างจำกัดของรัสเซียภายหลังการล่มสลายของ (อดีต) สหภาพโซเวียตในเวทีการเมืองระหว่างประเทศ โดยมีวิกฤตการณ์โคโซโว ช่วงปี ค.ศ. 1998 ถึง กลางปี ค.ศ. 1999 เป็นกรณีศึกษา โดยใช้แนวความคิดของพอล เคนเนดี้ ที่ได้อธิบายความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยทางเศรษฐกิจ และการทหารไว้ว่าการทุ่มเทงบประมาณให้กับการทหารมากเกินไป จะนำประเทศนั้นไปสู่ความเสื่อมถอยทางเศรษฐกิจ และวิทยานิพนธ์ฉบับนี้ได้อธิบายต่อไปว่า ความเสื่อมถอยทางเศรษฐกิจก็จะกลายเป็นข้อจำกัดในการแสดงบทบาทในเวทีการเมืองระหว่างประเทศในที่สุด ผลจากการศึกษาพบว่า สาเหตุสำคัญที่ทำให้รัสเซียไม่สามารถแสดงบทบาทได้ตามที่ต้องการนั้น เนื่องมาจากการทุ่มเทงบประมาณของประเทศจำนวนมากไปในการบำรุงและพัฒนากองทัพ รวมทั้งการขยายอำนาจไปยังดินแดนต่างๆ ทั่วโลกตลอดช่วงสงครามเย็นของ (อดีต) สหภาพโซเวียตประกอบกับนโยบายทางเศรษฐกิจแบบการสั่งการจากส่วนกลาง ซึ่ง (อดีต) สหภาพโซเวียตได้ปฏิบัติมาโดยตลอด ทั้ง 2 ปัจจัยจึงกลายเป็นอุปสรรคในการปฏิรูปประเทศ และส่งผลให้รัสเซียต้องขอความช่วยเหลือจากสหรัฐอเมริกาและประเทศตะวันตก จนทำให้รัสเซียต้องหลีกเลี่ยงการแสดงบทบาทใดๆ ที่จะนำมาซึ่งความขัดแย้งโดยตรงกับกลุ่มประเทศที่กำลังยื่นความช่วยเหลือในทางเศรษฐกิจให้แก่รัสเซียในที่สุดen
dc.description.abstractalternativeThis thesis focuses on the cause of Russia's limited role in the Kosovo crisis in the period from 1998-1999. The framework of Paul Kennedy was used as a basis for this work. Paul Kennedy concluded that high defence expenditure could lead to a decline in the economic stability of a super power. This thesis examines the diminished role of such super powers in international relations as a result of the collapse of their economic systems. In summary there were 2 main reasons why the Russian government had a limited role in protecting it's sphere of influence in the Balkans. Firstly because a relatively high percentage of the Gross National Product was spent on defence during the majority of the cold war. Additionally there were significant negative economic effects resulting from the central planning economic policy which the Soviet Union employed. These difficulties led to Russia being more dependent on the United States and their allies after the collapse of the Soviet Union. The Russian government's sphere of influence finally ended as the result of the conditions attached to a substantial loan from the International Monetary Funden
dc.format.extent1626698 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectสงครามโคโซโว, ค.ศ. 1999en
dc.subjectรัสเซีย -- ความสัมพันธ์กับต่างประเทศen
dc.subjectรัสเซีย -- การเมืองและการปกครองen
dc.titleความเสื่อมถอยของประเทศมหาอำนาจ : ข้อจำกัดของอิทธิพลที่รัสเซียมีต่อวิกฤตการณ์โคโซโว (ปี ค.ศ. 1998-1999)en
dc.title.alternativeA great power in decline : the limits of Russian influence in the Kosovo crisis (1998-1999)en
dc.typeThesises
dc.degree.nameรัฐศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineความสัมพันธ์ระหว่างประเทศes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorPrathoomporn.V@Chula.ac.th-
dc.email.advisorไม่มีข้อมูล-
dc.email.advisorไม่มีข้อมูล-
Appears in Collections:Pol - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
AkanitPad.pdf1.59 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.