Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/68727
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorเชาวเลิศ เลิศชโลฬาร-
dc.contributor.advisorจันทร์เพ็ญ เชื้อพานิช-
dc.contributor.authorวีระเดช เชื้อนาม-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะครุศาสตร์-
dc.date.accessioned2020-10-27T02:54:28Z-
dc.date.available2020-10-27T02:54:28Z-
dc.date.issued2542-
dc.identifier.isbn9743337024-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/68727-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ค.ด.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2542en_US
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อพัฒนาหลักสูตรเทคโนโลยีสารสนเทศ สำหรับนักเรียนชั้น ประถมศึกษาปีที่ 5 และ6 โดยมีขั้นตอนการวิจัย ประกอบไปด้วย 1 ) การวิเคราะห์ และ สังเคราะห์เพื่อให้ได้กรอบการพัฒนาหลักสูตร 2) การพัฒนาองค์ประกอบหลักสูตร 3) การประเมินหลักสูตร 4) การทดลองสอนตามหลักสูตรเทคโนโลยีสารสนเทศ สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 และ6 กลุ่มตัวอย่างผู้ให้ข้อมูลในการวิจัยครั้งนี้ได้แก่ ผู้ทรงคุณวุฒิด้านเทคโนโลยีสารสนเทศจำนวน 6 คน ผู้ทรงคุณวุฒิด้านการศึกษา จำนวน 2 คน คณะกรรมการพิจารณาหลักสูตรจำนวน 9 คน ผู้ทรงคุณวุฒิด้านหลักสูตรและการสอน จำนวน 3 คน ผู้ทรงคุณวุฒิด้านเทคโนโลยีการศึกษาจำนวน 3 คน ผู้ปกครองนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาจำนวน 10 คน และนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนพระหฤทัยคอนแวนต์กรุงเทพ จำนวน 107 คน ผลการวิจัยสรุปได้ ดังนี้ 1. หลักสูตรเทคโนโลยีสารสนเทศ สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 และ 6 มีสาระสำคัญ ดังต่อไปนี้ 1.1 เป้าหมายหลักสูตร เพื่อพัฒนา ให้นักเรียนเป็นผู้ที่มีความรู้ ความเข้าใจ และสามารถใช้เทคโนโลยี สารสนเทศ เป็นเครื่องมือในการเรียนรู้จากแหล่งวิทยาการต่าง ๆ เป็นผู้ที่มีคุณธรรม จริยธรรมในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในลังคม เป็นผู้ที่เห็นความสำคัญชองการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในสังคม 1.2 วัตถุประสงค์ หลักสูตร เพื่อให้นักเรียนได้ รู้และเข้าใจความสำคัญ ชองเทคโนโลยีสารสนเทศ สามารถใช้คอมพิวเตอร์ และซอฟต์แวร์ระบบปฏิบัติการและซอฟต์แวร์สำเร็จรูปเป็นเครื่องมือในการค้นหาข้อมูล จากแหล่งวิทยาการต่าง ๆ ได้ ตลอดจน มีความรับผิดชอบ ความเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่และวินัยในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ในสังคม 1.3 เนี้อหาหลักสูตร ประกอบไปด้วย ความสำคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศ การทำงานชองอุปกรณ์เทคโนโลยีสารสนเทศ การใช้ซอฟต์แวร์ การค้นหาข้อมูล สารสนเทศ การเขียน รับ และล่งจดหมาย อิเลคทรอนิกส์ การสร้างเวปเพจ การแก้ปัญหาโดยใช้สารสนเทศ คุณธรรม จริยธรรมการใช้เทคโนโลยีสาร สนเทศ ผลกระทบเทคโนโลยีสารสนเทศที่มีต่อชีวิตประจำวัน 1.4 แนวการจัดการเรียนการสอน ประกอบไปด้วย การอธิบาย อภิปราย สาธิต ฝึกปฏิบัติ ฝึกแก้ปัญหาโดยใช้สารสนเทศ ฝึกโดยการชี้แนะเป็นขั้นตอน การจำลองสถานการณ์ การจัดทำโครงงาน 1.5 แนวการวัตและประเมินผลประกอบไปด้วย การสังเกตพฤติกรรม การชักถาม การทดสอบการปฏิบัติงาน การตรวจสอบผลงาน และการประเมินตนเอง 1.6 สื่อการเรียนการสอน ประกอบไปด้วย ฮาร์ดแวร์คอมพิวเตอร์ ซอฟต์แวร์ อุปกรณ์การสื่อสาร โทรศัพท์โมเด็ม ระบบเครือข่าย 2. ผลการนำหลักสูตรไปทดลองสอน พบว่า นักเรียนส่วนมาก มีความสามารถในการสร้าง เวปเพจ และแก้ปัญหาโดยใช้สารสนเทศ-
dc.description.abstractalternativeThe objective of this research was to develop information technology curriculum for prathom suksa five and six students. The research procedures consisted of 1) analysis and synthesis identifying for frame of curriculum development 2) developing curriculum components 3) curriculum evaluation and, 4) implementation of the curriculum by experimenting teaching for prathom suksa five and six students. The subjects used in various stages of this research were: 6 experts in information technology, 2 experts in education, 9 experts in curriculum and instruction, 3 experts in curriculum and teaching, 3 experts in educational technology, 10 parents of primary school students, and 107 prathom suksa five students from the Sacred Heart Convent School Bangkok. The research findings were summarized as follows: 1. The main issues of the information technology curriculum for Prathom Suksa 5 and 6 composed of the followings: 1.1 The goals of the curriculum were to develop the students to be the knowledgeable and understandable students and have ability to use information technology as a tool to learn from other resources. Students have m oral and ethic in and also foreseen the importance of using information technology in the society. 1.2 The objective of the curriculum emphasized that the students would be able to realize and understand the importance of information technology; and be able to use computer, to use operating system software and commercial software as the tools to search information from various resources; included, the responsibility, generosity and discipline in using information technology in the society. 1.3 The content of the curriculum covered the importance of information technology, use of software, information search, using electronic m ail, webpages production, problem-solving, moral and ethic of using information technology, and the impact of information technology in daily life. 1.4 Instructional methods were lecture, discussion, demonstration, practice problem -solving by using information, practice by using teacher guided step by step, simulation and project learning. 1.5 Measurement and evaluation methods were behavioral observation, questioning, testing, product evaluation, and self-e valuation. 1.6 Instructional media were equipped with computer hardware, software, telephone equipment, modem and network. 2. In implementing this curriculum to the students, it was found that most of the students were able to build the WebPages, and solve problem by using information.-
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.1999.442-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectการวางแผนหลักสูตรen_US
dc.subjectประกันคุณภาพการศึกษาen_US
dc.subjectเทคโนโลยีสารสนเทศ -- การศึกษาและการสอน (ประถมศึกษา)en_US
dc.subjectCurriculum planning-
dc.subjectInformation technology -- Study and teaching (Elementary)-
dc.titleการพัฒนาหลักสูตรเทคโนโลยีสารสนเทศ สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 และ 6en_US
dc.title.alternativeA development of information technology curriculum for prathom suksa five and six studentsen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameครุศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineหลักสูตรและการสอนen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorChawalert.L@Chula.ac.th-
dc.email.advisorChanpen.C@Chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.1999.442-
Appears in Collections:Edu - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Weeradate_ch_front_p.pdfหน้าปก และบทคัดย่อ971.16 kBAdobe PDFView/Open
Weeradate_ch_ch1_p.pdfบทที่ 11.11 MBAdobe PDFView/Open
Weeradate_ch_ch2_p.pdfบทที่ 22.29 MBAdobe PDFView/Open
Weeradate_ch_ch3_p.pdfบทที่ 32.56 MBAdobe PDFView/Open
Weeradate_ch_ch4_p.pdfบทที่ 41.58 MBAdobe PDFView/Open
Weeradate_ch_ch5_p.pdfบทที่ 51.14 MBAdobe PDFView/Open
Weeradate_ch_back_p.pdfบรรณานุกรม และภาคผนวก5.65 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.