Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/69030
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorดวงหทัย เพ็ญตระกูล-
dc.contributor.advisorจิระวุฒิ จันเกษม-
dc.contributor.authorพงศธร จันทร์ผดุงสุข-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์-
dc.date.accessioned2020-11-03T03:58:49Z-
dc.date.available2020-11-03T03:58:49Z-
dc.date.issued2554-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/69030-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2554en_US
dc.description.abstractงานวิจัยนี้เป็นการศึกษาอัตราส่วนที่เหมาะสมของลิกนิน เพื่อใช้เป็นสารตัวเติมสำหรับ พอลิโพรพิลีน ลิกนินสกัดจากน้ำดำจากกระบวนการผลิตเยื่อกระดาษและตรวจสอบคุณลักษณะของลิกนินที่สกัดได้ด้วยเทคนิคฟลูเรียทรานฟอร์มอินฟราเรดสเปกโทรสโคปี (เอฟที-ไออาร์), การวิเคราะห์น้ำหนักภายใต้ความร้อน (ทีจีเอ), เลเซอร์ไรท์สเกตเทอริ่ง และกล้องจุลทรรศน์แบบส่องกราด (เอสอีเอ็ม) จากนั้นนำพอลิโพรพิลีนที่เติมลิกนินในอัตราส่วนร้อยละ 5, 10, 15 และ 20 โดยน้ำหนัก และพอลิโพรพิลีนที่เติมทั้งไตรฟินิลฟอสเฟตและลิกนินในอัตราส่วนร้อยละ 15 โดยน้ำหนัก ถูกเตรียมและประเมินสมบัติทางกายภาพ สมบัติทางความร้อน สมบัติเชิงกล และสมบัติต้านการติดไฟ จากผลการทดลอง พบว่าพอลิโพรพิลีนที่เติมลิกนินมีสมบัติทางความร้อน สมบัติเชิงกล และสมบัติต้านการติดไฟดีขึ้น โดยปริมาณที่เหมาะสม คือ ที่ปริมาณลิกนินร้อยละ 15 โดยน้ำหนัก นอกจากนี้พบว่าพอลิโพรพิลีนที่เติมไตรฟินิลฟอสเฟตและลิกนินมีสมบัติต้านการติดไฟดีขึ้น โดยอัตราส่วนที่เหมาะสมในการเติมไตรฟินิลฟอสเฟตและลิกนิน คือ อัตราส่วนไตรฟินิลฟอสเฟต ร้อยละ 10 โดยน้ำหนัก และอัตราส่วนลิกนินร้อยละ 5 โดยน้ำหนัก อย่างไรก็ดีเมื่อพิจารณา จากภาพเอสอีเอ็ม พบการแยกวัฏภาคของอนุภาคลิกนินจากพอลิโพรพิลีน เมื่อเพิ่มปริมาณลิกนินen_US
dc.description.abstractalternativeThe purpose of this research was to achieve a proper lignin ratio as a filler for polypropylene. Lignin was extracted from black liquor from pulping black liquor and characterized extracted lignin using Fourier transform infrared spectroscopy (FT-IR), Thermogravimetric analysis (TGA), laser light scattering and Scanning electron microscope (SEM) techniques. Then, the polypropylene incorporated with various amount of lignin from 5, 10, 15 and 20 percent by weight and polypropylene containing both triphenyl phosphite and lignin 15 percent by weight were prepared and assessed physical properties, thermal properties, mechanical properties and flame properties. From the experimental results, it was found that polypropylene containing lignin shows better physical properties, thermal properties, mechanical properties and flame properties where the suitable quantity of lignin was 15 percent by weight. Moreover, it was found that polypropylene containing triphenyl phosphite and lignin has better flame properties where a suitable ratio is 10 percent by weight of triphenyl phosphite and 5 percent by weight of lignin. However, considering SEM micrographs, phase separaration of lignin particle from polypropylene is detected as increasing amount of lignin.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectโพลิโพรพิลีน-
dc.subjectเยื่อกระดาษ -- การผลิต-
dc.subjectลิกนิน-
dc.subjectPolypropylene-
dc.subjectWood-pulp -- Production-
dc.subjectLignin-
dc.titleลิกนินที่สกัดจากน้ำดำของการผลิตเยื่อกระดาษเพื่อเป็นสารตัวเติมสำหรับพอลิโพรพิลีนen_US
dc.title.alternativeLignin extracted from pulping black liquor as filler for polypropyleneen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineวิทยาศาสตร์พอลิเมอร์ประยุกต์และเทคโนโลยีสิ่งทอen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorไม่มีข้อมูล-
Appears in Collections:Sci - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Pongsatorn_5272432923.pdf4.24 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.