Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/69230
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorAchara Chandrachai-
dc.contributor.advisorPakpachong Vadhanasindhu-
dc.contributor.authorSompong Hanvajanawong-
dc.contributor.otherChulalongkorn University. Faculty of Commerce and Accountancy-
dc.date.accessioned2020-11-09T04:39:18Z-
dc.date.available2020-11-09T04:39:18Z-
dc.date.issued2001-
dc.identifier.issn9741705891-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/69230-
dc.descriptionThesis (Ph.D)--Chulalongkorn University, 2001en_US
dc.description.abstractClean technolog concept has been widely used since the late eighties in influencing the behavior of firms concerning production activities in a more environmentally friencly direction. As a consequence, many clean technology projects have rapidly diffused and widely been carried out in various countries due to the findings that clean technology is a potential mechanism for creating competitive advantage. Therefore, this technology has been integrated into the strategic plans of various leading firms around the world including the ones in Thailand. Thai govement, with the support from both Thai and foreign organizations that promote the practice of clean technology, campaigned for the adoption of clean technology among firms in Thailand at large in order to preserve the natural environmental and crate advantage for competing with the foreign firms in Thailand at large in order to preserve the natural environmental and crate advantage for competing with the foreign rivals who use the environmental issues as the trade barriers. However, the diffusion rate of clean technology adoption in Thailand remains frustratingly slow and originate the questions of what are the factors that promote the multiplication of clean technology adoption in Thailand at the satisfactory rate. This research aims to studythe effects of institutional factors, organizational factors, and management factors on the adoption of clean technology by manufacturing firms in Thailand. The conceptual framework of the study is developed from the institutional theory,k the resource-based theory, and the diffusion of innovation theory. The sample of this study includes firms in the electrical/electronics industry and food processing industry, which are the major Thai industries with the highest and the second highest export values respectively. Data collection of this study compriese of plant manager interivews, pilot study, and mail survey. There were 190 usable questionnaires. Response rate was 13 percent. Data analyses include descriptive statistics, factor analysis, analysis of variance, bivariate correlation, and stepwise multiple regression analysis.en_US
dc.description.abstractalternativeในช่วงปลายทศวรรษ 1980 ได้มีการนำเอาแนวความคิดของเทคโนดลยีสะอาดมาใช้อย่างกว้างขวาง เพื่อสร้างผลในการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมขององค์กรต่าง ๆ ให้มีกิจกรรมที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมมากขึ้น จึงได้เกิดโครงการเทคโนโลยีสะอาดในประเทศต่าง ๆ อย่างรวดเร็วและกว้างขวาง โดยสืบเนื่องมากจากการค้นพบว่า เทคโนโลยีสะอาดมีศักยภาพที่จะเป็นกลไกในการสร้างความได้เปรียบในการแข่งขัน ดังนั้ง เทคโนโลยีสะอาดจึงได้รับการยอมรับและถือเป็นส่วนหนึ่งของแผนกลยุทธ์ของบริษัทชั้นนำหลายแห่งทั้วโลกรวมทั้งประเทศไทยด้วย รัฐบาลไทยโดยความร่วมมือกับองค์กรส่งเสริมการใช้เทคโนโลยีสะอาดทั้งของไทยและต่างประเทศ ได้รณรงค์เพื่อให้บริษัทต่าง ๆ ในประเทศไทยนำเอาเทคโนโลยีสะอาดไปใช้อย่างกว้างขวาง ทั้งนี้เพื่อรักษาสิ่งแวดล้อมและสร้างศักยภาพในการแข่งขันกับต่างประเทศ ที่กำลังนำเอาประเด็นสิ่งแวดล้อมมาใช้เป็ฯมาตรการกีดกันทางการค้า อย่างไรก็ตาม ระดับของการนำเอาเทคโนโลยีสะอาดไปในบริษัทผู้ผลิตในไทยยังมีอัตราการขยายตัวที่ต่ำ และเกิดคำถามว่าอะไรคือปัจจัยที่จะส่งเสริมให้เกิดการขยายตัวของเทคโนโลยีสะอาดในประเทศไทยในระดับที่น่าพอใจ การวิจัยนี้จึงมีวัตถุประสงค์ที่จะศึกษาผลกระทบจากปัจจัยของสถาบัน ซึ่งได้แก่ แรงกดดันจากกฎระเบียบด้านการรักษาสิ่งแวดล้อมการเรียกร้องของผู้เกี่ยวกับบริษัทให้รับเอาเทคโนโลยีสะอาดมาใช้ สิทธิประโยชน์ที่มีให้แก่ผู้ใช้เทคโนโลยีสะอาดและความแพร่หลายของเทคโนโลยีสะอาด ผลกระทบจากปัจจัยขององค์กร ซึ่งได้แก่ ขนาดขององค์กง ความสามารถขององค์กร และความรู้เกี่ยวกับเทคโนโลยีสะอาด และผลกระทบจากปัจจัยของฝ่ายจัดการ ซึ่งได้แก่ความตระหนักในประโยชน์ของเทคโนโลยีสะอาดในก้านการแข่งขัน ด้านเศรษฐศาสตร์ และด้านสังคม ตลอดจนความเต็มใจของฝ่ายจัดการ ในการนำเอาเทคโนโลยีสะอาดมาใช้ในบริษัทผู้ผลิตในประเทศไทย โดยมีแนวคิดที่พันามาจากทฤษฎีสถาบัน (Institutional Theory) ทฤษฎีพี่งพาทรัพยากร (Resource-based Thory) และทฤษฎีการแพร่กระจายของนวัตกรรม (Diffusion of Innovation Theory) ตัวอย่างของการวิจัยนี้ประกอบด้วยอุตสาหกรรมไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ และอุตสาหกรรมอาหาร ซึ่งเป็นอุตสาหกรรมหลักของประเทศไทยที่มีการส่งออกเป็นอันดับหนึ่งและสองตามลำดับ การเก็บข้อมูลของการศึกษานี้ประกอบด้วยการสัมภาษณ์ผู้จัดการโรงงาน การศึกษานำร่อง และการสำรวจโดยแบบสอบถามทางไปรษณีย์ แบบสอบถามที่ตอบกลับมาและสามารถนำมาใช้วิเคราะห์มีจำนวน 190 ชุด ซึ่งเป้ฯอัตราตอบรับที่ร้อยละ 13 การวิเคราะห์ข้อมูลประกอบด้วยการวิเคราะห์ด้วยสถิติเชิงพรรณา (Descriptive Statistics) การวิเคราะห์องค์ประกอบ (Factor Analysis) การวิเคราะห์ความแปรปรวน (ANOVA) การวิเคราะห์สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของตัวแปรสองตัว (Bivariate Correlation ) และการวิเคราะห์ความถดถอยเชิงพหุด้วยวิธี Stepwise (Stepwise Multiple Regression Analysis)en_US
dc.language.isoenen_US
dc.publisherChulalongkorn Universityen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2001.334-
dc.rightsChulalongkorn Universityen_US
dc.subjectEnvironmental managementen_US
dc.subjectEnvironmental impact-statementsen_US
dc.subjectCleaner technologyen_US
dc.subjectการจัดการสิ่งแวดล้อมen_US
dc.subjectรายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อมen_US
dc.subjectเทคโนโลยีเพื่อสิ่งแวดล้อมen_US
dc.titleThe effects of institutional factors, organizational, capabilities, and perceived advantages to the adoption of cleaner technology by manufacturing firms in Thailanden_US
dc.title.alternativeผลกระทบจากปัจจัยของสถาบัน ความสามารถขององค์กร และความตระหนักถึงประโยชน์ที่มีต่อการนำเอาเทคโนโลยีสะอาดมาใช้ โดยบริษัทผู้ผลิตในประเทศไทยen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameDoctor of Business Administrationen_US
dc.degree.levelDoctoral Degreeen_US
dc.degree.disciplineBusiness Administrationen_US
dc.degree.grantorChulalongkorn Universityen_US
dc.email.advisorChandrachai@Yahoo.com-
dc.email.advisorPak.V@acc.chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2001.334-
Appears in Collections:Acctn - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Sompong_ha_front_p.pdfหน้าปก บทคัดย่อ และสารบัญ951.63 kBAdobe PDFView/Open
Sompong_ha_ch1_p.pdfบทที่ 1865.69 kBAdobe PDFView/Open
Sompong_ha_ch2_p.pdfบทที่ 21.25 MBAdobe PDFView/Open
Sompong_ha_ch3_p.pdfบทที่ 3856.76 kBAdobe PDFView/Open
Sompong_ha_ch4_p.pdfบทที่ 4844.97 kBAdobe PDFView/Open
Sompong_ha_ch5_p.pdfบทที่ 51.62 MBAdobe PDFView/Open
Sompong_ha_ch6_p.pdfบทที่ 61.04 MBAdobe PDFView/Open
Sompong_ha_back_p.pdfบรรณานุกรม และภาคผนวก1.37 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.