Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/6949
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | สุญาณี พงษ์ธนานิกร | - |
dc.contributor.author | รัตติยา วีระนิตินันท์ | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะเภสัชศาสตร์ | - |
dc.coverage.spatial | ไทย | - |
dc.coverage.spatial | จันทบุรี | - |
dc.date.accessioned | 2008-05-21T04:21:01Z | - |
dc.date.available | 2008-05-21T04:21:01Z | - |
dc.date.issued | 2548 | - |
dc.identifier.isbn | 9741419155 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/6949 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (ภ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2548 | en |
dc.description.abstract | การวิจัยนี้ เป็นการศึกษาผลทางคลินิกของการบริโภคน้ำลูกสำรองในผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 2 กลุ่มตัวอย่าง คือ ผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 2 ที่โรงพยาบาลสองพี่น้อง จังหวัดจันทบุรี จำนวน 63 คน แบ่งเป็น กลุ่มทดลอง 32 คน และ กลุ่มควบคุม 31 กลุ่มทดลองได้รับน้ำลูกสำรองเพื่อบริโภคหลังมื้ออาหาร 3 มื้อ มื้อละ 240 มิลลิลิตร เป็นเวลา 8 สัปดาห์ โดยกลุ่มตัวอย่างทั้งสองกลุ่มได้ทำแบบบันทึกการรับประทานอาหารย้อนหลัง 24 ชั่วโมง เพื่อนำมาคำนวณพลังงานทั้งหมดที่ป่วยได้รับต่อวัน พลังงานที่ได้จากสารอาหาร (โปรตีนคาร์โบไฮเดรต ไขมัน) และปริมาณใยอาหาร รวมถึงมีการติดตามการเปลี่ยนแปลงระดับน้ำตาลหลังอดอาหาร 8 ชั่วโมงทั้งหมด 3 ครั้ง คือ เมื่อเริ่มการทดลอง (สัปดาห์ที่ 0) สัปดาห์ที่ 4 และ 8 ติดตามผลการเปลี่ยนแปลงระดับค่าไกลโคไซเลทฮีโมโกลบิน และไขมันในเลือดทั้งหมด 2 ครั้ง คือ เมื่อเริ่มการทดลอง (สัปดาห์ที่ 0) และสัปดาห์ที่ 8 ผลของการบริโภคน้ำลูกสำรองในผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 2 พบว่ากลุ่มทดลองมีพลังงานทั้งหมดที่ได้รับในแต่ละวัน พลังงานที่ได้จากคาร์โบไฮเดรต ระดับน้ำตาลในเลือดหลังอดอาหาร 8 ชั่วโมง ค่าไกลโคไซเลทฮีโมโกลบินลดลงเมื่อเทียบกับก่อนการทดลองอย่างมีนัยสำคัญ (p<0.00, p=0.023, p=0.004, p<0.001 ตามลำดับ) และต่ำกว่ากลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสำคัญ (p=0.020, p=0.008, p=0.005, p=0.001 ตามลำดับ) คอเลสเตอรอลรวม และ แอล-ดี-แอล คอเลสเตอรอลลดลง และต่ำกว่ำกลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสำคัญ (p=0.004, p=0.008 ตามลำดับ) ส่วนระดับไตรกลีเซอไรด์ และเอช-ดี-แอลคอเลสเตอรอลไม่เปลี่ยนแปลง ปริมาณใยอาหารที่ได้รับต่อวันเพิ่มขึ้นเมื่อเทียบกับก่อนการทดลอง (p<0.001) และสูงกว่ากลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสำคัญ (p=0.001) จากผลการวิจัยนี้ แสดงให้เห็นว่าการบริโภคน้ำลูกสำรองอาจเป็นแนวทางที่จะช่วยลดระดับน้ำตาลและไขมันในเลือดของผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 2 ได้ | en |
dc.description.abstractalternative | This study was conducted to evaluate the clinical outcome of malva nut drink in type 2 diabetic patients. Sixty three outpatients at Songpeenong hospital, Chanthaburi were randomly divided into the experimental (n = 32) and the control group (n = 31). The experimental group were advised about malva nut drink 240 ml after meal 3 times a day for 8 weeks. The test regarding of 24-hour recall questionnaire were done by the both groups. The total energy intake, the energy from nutrients (protein, carbohydrate, fat) and amount of dietary fiber of each patient were calculated. Fasting plasma glucose (FPG) was determined at weeks 0, 4, 8 ; total cholesterol, triglyceride, HDL-C, LDL-C and glycosylated hemoglobin at week 0 and week 8. After the intake of malva nut drink in the experimental group, the total energy intake, the energy from carbohydrate, fasting plasma glucose, glycosylated hemoglobin decreased significantly when compared with baseline (p < 0.001, p=0.023, p=0.004 and p<0.001 respectively) and less thanthose of the controlled group (p=0.020, p=0.008, p=0.005 and p=0.001 respectively). Total cholesterol and LDL-C were less than those of the controlled group significantly (p=0.004 and p=0.008 respectively). In addition, amount of dietary fiber intake increased significantly when compared with baseline (p<0.001) and higher than those of the controlled group (p<0.001). The results of this study showed that malva nut drink may help to reduce serum glucose and lipids in type 2 diabetic patients. | en |
dc.format.extent | 1551243 bytes | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.language.iso | th | es |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.relation.uri | http://doi.org/10.14457/CU.the.2005.296 | - |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.subject | เบาหวาน -- การรักษา | en |
dc.subject | สำรอง (พืช) | en |
dc.title | ผลทางคลินิกของการบริโภคน้ำลูกสำรองในผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่2ที่โรงพยาบาลสองพี่น้อง จังหวัดจันทบุรี | en |
dc.title.alternative | Clinical outcome of malva nut drink in type 2 diabetic patients at Songpeenong hospital,Chanthaburi province | en |
dc.type | Thesis | es |
dc.degree.name | เภสัชศาสตรมหาบัณฑิต | es |
dc.degree.level | ปริญญาโท | es |
dc.degree.discipline | อาหารเคมีและโภชนศาสตร์ทางการแพทย์ | es |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.email.advisor | Suyanee.P@Chula.ac.th | - |
dc.identifier.DOI | 10.14457/CU.the.2005.296 | - |
Appears in Collections: | Pharm - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Rattiya_Ve.pdf | 1.51 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.