Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/70016
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorกีรติ คุวสานนท์-
dc.contributor.authorโชติกา กังสนันท์-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะครุศาสตร์-
dc.date.accessioned2020-11-11T13:34:37Z-
dc.date.available2020-11-11T13:34:37Z-
dc.date.issued2562-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/70016-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2562-
dc.description.abstractงานวิจัยนี้เป็นงานวิจัยเชิงคุณภาพ มีวัตถุประสงค์ (1) เพื่อศึกษาปัญหาทางการเรียนที่เกิดขึ้นกับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ที่เป็นนักเรียนไทย ในโรงเรียนนานาชาติ (2) เพื่อนำเสนอแนวทางการส่งเสริมความพร้อมแก่นักเรียนในรอยเชื่อมต่อทางการศึกษาจากระดับประถมศึกษาสู่ระดับมัธยมศึกษาในโรงเรียนนานาชาติ เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ (1) แบบสัมภาษณ์ชนิดมีโครงสร้างคำถาม (2) แบบประเมินรับรองแนวทางการส่งเสริมความพร้อมสำหรับผู้เชี่ยวชาญ กลุ่มตัวอย่าง คือ ครูที่สอนในชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ในโรงเรียนนานาชาติ ประกอบด้วย โรงเรียนนานาชาติระบบอังกฤษ 2 โรงเรียน โรงเรียนนานาชาติระบบอเมริกัน 2 โรงเรียน โรงเรียนนานาชาติระบบสิงคโปร์ 2 โรงเรียน และโรงเรียนนานาชาติระบบ International Baccalaureate 1 โรงเรียน จำนวนทั้งหมด 7 โรงเรียน การวิเคราะห์ข้อมูลใช้การวิเคราะห์เชิงเนื้อหา ผลการวิจัยพบว่า ปัญหาทางการเรียนที่เกิดขึ้นกับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ที่เป็นนักเรียนไทย ในโรงเรียนนานาชาติ มี 3 ด้าน ได้แก่ (1) พื้นฐานทางวิชาการ (2) สังคมและวัฒนธรรม และ (3) สภาพอารมณ์และจิตใจของนักเรียน และแนวทางการส่งเสริมความพร้อมได้ดังนี้ (1) แนวทางในการส่งเสริมความพร้อมด้านพื้นฐานทางวิชาการ (2) แนวทางการส่งเสริมความพร้อมด้านสังคมและวัฒนธรรม และ (3) แนวทางการส่งเสริมความพร้อมด้านสภาพอารมณ์และจิตใจ ซึ่งประกอบด้วยการจัดการเรียนการสอน การจัดสภาพแวดล้อมในชั้นเรียน และการสร้างความร่วมมือกับผู้ปกครอง-
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this qualitative research were 1) to study the problems and effects occurring among Grade 1 Thai students in international schools. 2) to present proposals in helping students to be prepared for the educational transition from primary levels to secondary levels in international schools. The research instruments were 1) a structured interview form 2) an evaluation form for experts. The representative simples were the teachers who are teaching in grade 7in international schools, those are from 2 British International schools, 2 American international schools, 2 Singapore international schools, and 1 International Baccalaureate school. Analyze data by using content analysis. The research results were found that the problems and effects of studying occurring among Grade 7 Thai students in international schools caused by 3 factors. Those are 1) The academic basis 2) Societies and Cultures  3) Students’ Emotional and Mental state The suggestive guidelines to help the student get prepared for studying are 1) a plan to improve students’ academic basis 2) a plan to get students to get used to societies and cultures. 3) a plan to help students’ emotional and mental state be sustained by using teaching management, teaching methods, classroom environment creating, and cooperating with their parents.-
dc.language.isoth-
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
dc.relation.urihttp://doi.org/10.58837/CHULA.THE.2019.964-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
dc.subject.classificationSocial Sciences-
dc.titleแนวทางการส่งเสริมความพร้อมในรอยเชื่อมต่อทางการศึกษาจากระดับประถมศึกษาสู่ระดับมัธยมศึกษา : พหุกรณีศึกษาโรงเรียนนานาชาติ-
dc.title.alternativeGuidelines in a transition from primary to secondary grades: multi-case studies in international school contexts-
dc.typeThesis-
dc.degree.nameครุศาสตรมหาบัณฑิต-
dc.degree.levelปริญญาโท-
dc.degree.disciplineประถมศึกษา-
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
dc.subject.keywordแนวทางการส่งเสริมความพร้อม-
dc.subject.keywordรอยเชื่อมต่อทางการศึกษา-
dc.subject.keywordโรงเรียนนานาชาติ-
dc.identifier.DOI10.58837/CHULA.THE.2019.964-
Appears in Collections:Edu - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
6083865927.pdf2.69 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.