Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/7104
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorศิริรัตน์ เร่งพิพัฒน์-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์-
dc.date.accessioned2008-05-29T06:40:57Z-
dc.date.available2008-05-29T06:40:57Z-
dc.date.issued2542-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/7104-
dc.description.abstractBacillus sp. S11 ที่ใช้เป็นโพรไบโอติกในการเพาะเลี้ยงกุ้งกุลาดำสามารถสร้างสารต้านจุลชีพได้ในระยะ log phase ของการเจริญ ภาวะการเลี้ยงที่เหมาะสมต่อการสร้างสารนี้คือ การใช้อาหารเลี้ยงเชื้อที่ประกอบด้วย สารสกัดจากยีสต์ 2% (น้ำหนัก/ปริมาตร) ไดโพแทสเซียมฟอสเฟต 0.25% (น้ำหนัก/ปริมาตร) pH ของอาหารเลี้ยงเชื้อเริ่มต้นที่ 7.0 ใช้ปริมาณหัวเชื้อตั้งต้นที่ 2.0% (ปริมาตร/ปริมาตร) อุณหภูมิในการเพาะเลี้ยง 40 องศาเซลเซียส บนเครื่องเขย่า 200 รอบต่อนาที สารต้านจุลชีพที่ได้ถูกนำให้บริสุทธิ์ตามขั้นตอนดังนี้ ตกตะกอนด้วย 0-30% แอมโมเนียม ซัลเฟต ผ่านคอลัมน์ Sephadex G-50 และผ่าน DEAE-Sephadex ให้ค่า specific activity เพิ่มขึ้นจากที่มีในน้ำหมัก 29.10 AU/mg protein เป็น 52.63, 75.36 และ 95.23 AU/mg protein ตามลำดับ เมื่อวิเคราะห์ด้วย SDS-PAGE พบว่าสารนี้มีมวลโมเลกุลประมาณ 3.5 kDa และมี lipid เป็นองค์ประกอบ สารนี้สามารถทนความร้อนที่อุณหภูมิ 70 และ 80 องศาเซลเซียส ได้ 15 นาทีและถูกทำลายหมดภายในเวลา 60 นาที เมื่อเก็บไว้ที่ 100 องศาเซลเซียส แอคติวิตีของสารหมดไปภายใน 10 นาที และตรวจไม่พบแอคติวิตีของสารนี้หลังผ่านการซึ่งฆ่าเชื้อ 121 องศาเซลเซียส 20 นาที สารนี้ให้แอคติวิตีได้ในช่วง pH ตั้งแต่ 3-10 และปริมาณโซเดียมคลอไรด์ 0-5% (น้ำหนัก/ปริมาตร) ไม่มีผลต่อแอคติวิตี ภายหลังจากการบำบัดด้วยเอนไซม์ protease, alpha-amylase และ lipase พบว่า protease ทำให้แอคติวิตีของสารนี้ลดลงในขณะที่เอนไซม์อีกสองชนิดไม่มีผลต่อแอคติวิตีของสารต้านจุลชีพนี้en
dc.description.abstractalternativeBacillus sp. S11, used as probiotic in Penaeus monodon, produced antimicrobial substance in log phase of growth cycle. In this research, the optimum conditions or production of this antimicrobial substance are medium containing 2% (w/v) yeast extract, 0.25% (w/v) dipotassium phosphate; pH 7.0, 2.0% (v/v) inoculum, and aeration at 200 rpm; 40 C. The purification of the substance was performed by the steps of precipitating with 0-30% ammonium sulfate, running through Sephadex G-50 column chromatography and DEAE-Sephadex column chromatography. The specific activity of this substance increased from 29.10 AU/mg protein of cultured broth to 52.63, 75.36 and 95.23 AU/mg protein, in each step, respectively. The results from SDS-PAGE showed that this molecular weight was approximately 3.5 kDa and consisted of lipid. The antimicrobial activity decreased after incubating at 70 and 80 C for 15 minutes and could not be detected after 60 minutes. Its activity also disappeared after incubating at 100 C for 10 minutes or autoclaving at 121 C for 20 minutes. Antimicrobial substance showed its activity at the conditions of wide range of pH (3-10) and 0-5% (w/v) sodium chloride. Protease could reduce the activity of the substance whereas no effect of alpha-amylase and lipase have been detected.en
dc.description.sponsorshipทุนอุดหนุนงบประมาณแผ่นดินประจำปี 2542en
dc.format.extent4850416 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectกุ้งกุลาดำ--การเพาะเลี้ยงen
dc.subjectสารต้านจุลชีพen
dc.subjectแบคทีเรียen
dc.titleการทำบริสุทธิ์สารต่อต้านจุลชีพจาก Bacillus S11 : รายงานผลการวิจัยen
dc.title.alternativePurification of antimicrobial substance from Bacillus S11en
dc.typeTechnical Reportes
dc.email.authorsirirat@sc.chula.ac.th-
Appears in Collections:Sci - Research Reports

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Sirirat(bac).pdf4.74 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.