Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/71457
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorกัญจนา บุณยเกียรติ-
dc.contributor.advisorสมเกียรติ งามประเสริฐสิทธิ์-
dc.contributor.authorพงศ์ประวิน พานิชกุล-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์-
dc.date.accessioned2020-12-09T07:36:16Z-
dc.date.available2020-12-09T07:36:16Z-
dc.date.issued2548-
dc.identifier.isbn9741736509-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/71457-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2548en_US
dc.description.abstractการผลิตไบโอดีเซลอย่างต่อเนื่องจากน้ำมันพืชด้วยปฏิกิริยาทรานส์เอสเทอริฟิเคชันใน เครื่องปฏิกรณ์แบบไหลผสม พารามิเตอร์หลักที่ศึกษาคือ ถังกวน ปริมาตรของของเหลว ชนิดของ ใบพัดกวน ความเร็วรอบของใบพัดกวน อัตราส่วนโดยโมลของเมทานอลต่อน้ำมันพืช ชนิดและ ปริมาณตัวเร่งปฏิกิริยา อุณหภูมิที่ใช้ทำปฏิกิริยา และเวลาเฉลี่ยที่สารทำปฏิกิริยาอยู่ในเครื่อง ปฏิกรณ์ ขั้นแรกศึกษาภาวะที่มีผลต่อการผสมเป็นเนื้อเดียวกันในถังกวนขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง ภายใน 14 เซนติเมตร พบว่าปริมาตรของของเหลวที่ดีที่สุด คือ 2000 มิลลิลิตร จากนั้นออกแบบ การทดลองแบบ 2³ แฟคทอเรียล พบว่าอัตราส่วนโดยโมลของเมทานอลต่อน้ำมันเมล็ดในปาล์ม กับปริมาณตัวเร่งปฏิกิริยามีอันตรกิริยาต่อกัน และภาวะที่เหมาะสมซึ่งได้ร้อยละความบริสุทธิ์ เมทิลเอสเทอร์สูงสุด คือ อัตราส่วนโดยโมลของเมทานอลต่อน้ำมันเมล็ดในปาล์มเท่ากับ 9 ปริมาณ ตัวเร่งปฏิกิริยาโซเดียมไฮดรอกไซด์ร้อยละ 1 โดยน้ำหนัก และอุณหภูมิที่ใช้ทำปฏิกิริยา 60 องศา เซลเซียส สำหรับใบพัดกวนแบบกังหัน 6 ใบแบบติดบนจาน ใช้ความเร็วรอบ 90 รอบต่อนาที และวลาเฉลี่ยที่สารทำปฏิกิริยาอยู่ในเครื่องปฏิกรณ์ 60 นาที ได้ความบริสุทธิ์เมทิลเอสเทอร์สูงสุด ในช่วงร้อยละ 93-95 สำหรับใบพัดกวนแบบกังหัน 4 ใบแบบเอียง 45° ใช้ความเร็วรอบ 1200 รอบ ต่อนาที และเวลาเฉลี่ยที่สารทำปฏิกิริยาอยู่ในเครื่องปฏิกรณ์ 60 นาที ได้ความบริสุทธิ์เมทิลเอสเทอร์สูงสุด ในช่วงร้อยละ 91-93 นอกจากนี้พบว่าการใช้โพแทสเซียมไฮดรอกไซด์เป็นตัวเร่งปฏิกิริยาแทนโชเดียมไฮดรอกไซด์พบว่ามีอัตราการเกิดปฏิกิริยาช้ากว่า และการใช้น้ำมันมะพร้าวเป็นสารตั้งต้นจำเป็นต้องใช้ปริมาณตัวเร่งปฏิกิริยาที่เพิ่มขึ้นกว่ากรณีของน้ำมันเมล็ดในปาล์ม เพราะว่าน้ำมันมะพร้าวมีค่าของกรดสูงกว่า-
dc.description.abstractalternativeContinuous production of biodiesel from vegetable oils via transesterification was carried out in a mixed flow reactor. The investigated parameters were: reactor vessel, liquid volume, types of impeller, speed of impeller, molar ratio of methanol to vegetable oil, type and amount of catalyst, reaction temperature and residence time. In the first part, conditions affecting mixing in the reactor vessel having inside diameter 14 centimeter were found at the optimal liquid volume at 2000 milllitre. In the second part, by employing, 2³ factorial design, the interaction between molar ratio of methanol to vegetable oil and amount of catalyst was found. The optimal condition for maximum purity of methyl ester was found to be: molar ratio of methanol to palm kernel oil of 9, 1% by weight of sodium hydroxide, and reaction temperature at 60 ℃ . For the 6-blade flat blade turbine, at impeller speed of 900 rpm and residence time 60 min, the maximum purity of methyl ester was found in the range of 93-95%. For the 4-blade 45° pitched blade turbine, at impeller speed of 1200 rpm and residence time 60 min, the maximum purity of methyl ester was found in range of 91-93%, Furthermore, when potassium hydroxide catalyst was used in stead of sodium hydroxide, the rate of reaction was slower. When coconut oil was used as raw material, the amount of catalyst needed was higher than in the case of palm kernel oil because of the higher acid value of coconut oil.-
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectเชื้อเพลิงไบโอดีเซล -- การผลิตen_US
dc.subjectน้ำมันพืชen_US
dc.subjectเครื่องปฏิกรณ์เคมีen_US
dc.subjectBiodiesel fuelsen_US
dc.subjectVegetable oilsen_US
dc.subjectChemical reactorsen_US
dc.titleการผลิตไบโอดีเซลจากน้ำมันพืชด้วยทรานส์เอสเทอริฟิเคชันในเครื่องปฏิกรณ์แบบไหลผสมen_US
dc.title.alternativeProduction of biodiesel from vegetable oils via transesterification in mixed flow reactoren_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineเคมีเทคนิคen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorfscikbk@chulkn.chula.ac.th, Kunchana.b@chula.ac.th-
dc.email.advisorsomkiat@sc.chula.ac.th, Somkiat.N@Chula.ac.th-
Appears in Collections:Sci - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Pongprawin_pa_front_p.pdf1.16 MBAdobe PDFView/Open
Pongprawin_pa_ch1_p.pdf701.01 kBAdobe PDFView/Open
Pongprawin_pa_ch2_p.pdf2.53 MBAdobe PDFView/Open
Pongprawin_pa_ch3_p.pdf962.12 kBAdobe PDFView/Open
Pongprawin_pa_ch4_p.pdf2.62 MBAdobe PDFView/Open
Pongprawin_pa_ch5_p.pdf728.89 kBAdobe PDFView/Open
Pongprawin_pa_back_p.pdf1.53 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.