Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/71480
Title: Digital image enhancement using iCAM
Other Titles: การปรับปรุงภาพดิจิทัลด้วย iCAM
Authors: Paradee Jetsamanpunt
Advisors: Suchitra Sueeprasan
Hordley, Steven D
Other author: Chulalongkorn University. Faculty of Science
Advisor's Email: suchitra.s@chula.ac.th
No information provided
Subjects: Digital images
Images, Photographic
Image appearance
iCAM
Image enhancement
Image render
ภาพดิจิทัล
Issue Date: 2005
Publisher: Chulalongkorn University
Abstract: Digital images taken with improper light exposure will contain no detail in shadow, or in highlight. The quality of these images could be enhanced using the image color appearance model, iCAM. One crucial step of the implementation of iCAM is in the step of image filtering. The aim of this thesis was to define the types of Gaussian filter used in the iCAM model. Two sizes of filter were varied: the size of the image size and half the size of image size. The sigma values of filter were varied between 1 - 500. This parameter varying was applied to the first filter used in the step of obtaining chromatic adaptation information and to the second filter used in the step of luminance adaptation. A combination of appropriate filters would provide good quality of images enhanced with iCAM. Three different types of digital images were tested. The results showed that filter size had little effect on the model’s performance. The image size was used as the filter size for both filters. The sigma of the first filter should be around 50, while that of the second filter is between 200 and 500. The use of iCAM with appropriate filters could improve quality of the input images in terms of image detail.
Other Abstract: ภาพถ่ายดิจิทัลที่ถ่ายในสภาวะแสงไม่เหมาะสมทำให้ภาพที่ได้ไม่สามารถเห็นรายละเอียดของ ภาพในบริเวณมืดและสว่าง เช่น ภาพที่มีความเปรียบต่าง (Contrast) สูงแต่แสดงรายละเอียดภาพไม่ดี การปรับปรุงภาพมีหลากหลายวิธี โดยทั่วไปจะทำการปรับปรุงภาพ หรือ การปรับปรุงสีอย่างใดอย่าง หนึ่งเพียงอย่างเดียว จึงได้มีการทำแบบจำลองการปรับปรุงทั่งภาพและสี ที่สามารถทำงานร่วมกันใน แบบจำลองเดียวเรียกแบบจำลองนี้ว่า iCAM ขั้นตอนหนึ่งที่สำคัญในการทำงานของ iCAM คือการใส่ ฟิลเตอร์ให้กับภาพ ในการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อหาชนิดของ ฟิลเตอร์เกาส์เซียน (Gaussian filter) ที่ ใช้ใน iCAM ซึ่งมีตัวแปรสองตัวที่มีผลกับลักษณะของฟิลเตอร์ คือขนาดและค่าซิกมาของฟิลเตอร์ ใน การทดลองกำหนดขนาดของฟิลเตอร์ที่ใช้ให้เท่ากับภาพ และขนาดครึ่งหนึ่งของภาพ ส่วนค่าซิกมาเปลี่ยนอยู่ในช่วง 1 - 500 ซึ่งตัวแปรเหล่านี้ใช้ในฟิลเตอร์เกาส์เชียนที่ต่างกันใน iCAM ฟิลเตอร์แรกใช้ ในการคำนวณข้อมูลการปรับสี และฟิลเตอร์ที่สองใช้ในการปรับค่าความสว่าง การเลือกใช้ฟิลเตอร์ทั่ง สองที่เหมาะสมจะทำให้การปรับปรุงภาพด้วย iCAM ได้ผลดี ทำการทดลองใช้ชนิดของภาพที่แตกต่าง กัน 3 ชนิด พบว่าขนาดของฟิลเตอร์มีผลกับการทำงานของแบบจำลองเพียงเล็กน้อย ตังนั้นการทดลองนี้ จึงเลือกใช้ขนาดฟิลเตอร์ที่เท่ากับขนาดของภาพเหมือนกันทั่งสองฟิลเตอร์ ค่าซิกมาของฟิลเตอร์แรกควร มีค่าประมาณ 50 ขณะที่ฟิลเตอร์ที่สองมีค่าอยู่ในช่วงระหว่าง 200 - 500 การเลือกใช้ฟิลเตอร์ที่ เหมาะสมของ iCAM สามารถปรับปรุงคุณภาพของภาพในด้านรายละเอียดของภาพได้
Description: Thesis (M.Sc.)--Chulalongkorn University, 2005
Degree Name: Master of Science
Degree Level: Master's Degree
Degree Discipline: Imaging Technology
URI: http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/71480
ISBN: 9741419082
Type: Thesis
Appears in Collections:Sci - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Paradee_je_front_p.pdf930.23 kBAdobe PDFView/Open
Paradee_je_ch1_p.pdf671 kBAdobe PDFView/Open
Paradee_je_ch2_p.pdf1.67 MBAdobe PDFView/Open
Paradee_je_ch3_p.pdf1.05 MBAdobe PDFView/Open
Paradee_je_ch4_p.pdf1.66 MBAdobe PDFView/Open
Paradee_je_ch5_p.pdf656.73 kBAdobe PDFView/Open
Paradee_je_back_p.pdf1.05 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.