Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/7278
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.author | รัตนา สินธุภัค | - |
dc.contributor.author | สมชาย อิสระวาณิชย์ | - |
dc.contributor.author | วีนัส อุดมประเสริฐกุล | - |
dc.contributor.author | ไพลิน ศรีสุขโข | - |
dc.contributor.author | อรอุมา ซองรัมย์ | - |
dc.contributor.author | เริงศักดิ์ บุญบรรดาลชัย | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์การแพทย์ | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์การแพทย์ | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์การแพทย์ | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์การแพทย์ | - |
dc.contributor.other | ไม่มีข้อมูล | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์การแพทย์ | - |
dc.date.accessioned | 2008-06-27T09:34:22Z | - |
dc.date.available | 2008-06-27T09:34:22Z | - |
dc.date.issued | 2546 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/7278 | - |
dc.description.abstract | วัตถุประสงค์ เพื่อทดสอบวิธีการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกด้วยเทคนิคฟูเรียร์ทรานฟอร์มอินฟราเรดสเปคโตรสโกปี ว่าสามารถนำไปใช้ได้ทั้งในส่วนกลางและส่วนภูมิภาค รูปแบบการวิจัย การวิจัยเชิงพรรณนาโดยเก็บข้อมูลแบบตัดขวาง สถานที่ทำการศึกษา สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์การแพทย์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย กรุงเทพมหานคร โรงพยาบาลแม่และเด็ก ศูนย์ส่งเสริมสุขภาพเขต 6 ขอนแก่น และเขต 10 เชียงใหม่ วิธีการศึกษา เก็บตัวอย่างเซลล์ปากมดลูกจากผู้มารับบริการตรวจ Pap smear ที่โรงพยาบาลแม่และเด็ก ศูนย์ส่งเสริมสุขภาพเขต 6 ขอนแก่น และเขต 10 เชียงใหม่ จำนวนทั้งหมด 1,652 ราย นำมาวิเคราะห์ด้วยเทคนิคฟูเรียร์ทรานฟอร์มอินฟราเรดสเปคโตรสโกปี (FTIR) แล้วเปรียบเทียบกับผลการตรวจ Pap smear ผลการศึกษา ตัวอย่างที่มีปริมาณเซลล์ปากมดลูกเพียงพอและสามารถตรวจด้วยเทคนิค FTIR ได้ มีจำนวน 495 ราย พบว่าให้ผลบวก 100 ราย ซึ่งมีสเปกตรัมของเซลล์มะเร็ง peak frequency และ peak ratio แตกต่างกับเซลล์ปกติอย่างชัดเจน ผลการตรวจ Pap smear พบว่า 490 รายให้ผลลบ ซึ่งในจำนวนนี้ 98 ราย ให้ผลบวกจากเทคนิค FTIR ปัญหาของวิธี FTIR นี้คือการได้เซลล์ปากมดลูกที่ไม่เพียงพอในการตรวจ ซึ่งจะต้องแก้ไขต่อไป สรุป เทคนิค FTIR ให้สเปกตรัมของเซลล์มะเร็งที่แตกต่างจากเซลล์ปกติ ซึ่งสอดคล้องกับผลการศึกษาของมหาวิทยาลัยออตตาวา ประเทศคานาดา และที่จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ถ้าได้มีการพัฒนาการเก็บตัวอย่างเซลล์ให้เพียงพอที่จะตรวจได้ และมีการติดตามผลผู้ที่ให้ผลบวกด้วยวิธี FTIR จนพิสูจน์ได้ว่าเป็นผลบวกจริง ก็จะทำให้เทคนิคนี้เป็นวิธีที่เหมาะสมในการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก เพราะเป็นวิธีง่าย รวดเร็ว ราคาไม่แพง และสามารถตรวจได้ตั้งแต่ระยะเริ่มแรก | en |
dc.description.abstractalternative | Objective To test the fourier transform infrared spectroscopy (FTIR technique for possible cervical cancer screening of Thai women in both canter and rural regions. Design Descriptive and crossectional study Setting Institute of Health Research, Chulalongkorn University, Mother and Child Hospital, Health Promotion Center, Region 6 Khon Kaen and region 10 Chiang Mai. Method The 1,652 cervical specimens were obtained from patients who came to check up for cervical cancer screening (Pap smear) at Mother and Child Hospital, Health Promotion Center, Region 6 Khon Kaen and Region 10 Chiang Mai. The samples were analyzed by FTIR technique and compared to standard Pap smear. Result Only 495 samples had enough cervical cells for analysis by FTIR technique. One hundred specimens had FTIR positive, showing spectra, peak frequencies and peak ratios difference from normal spectra. For standard Pap smears, 490 patients had negative results, of which 98 cases had positive by FTIR. The problem of this FTIR method in inadequate cervical cell sample that must be solved. Conclusion FTIR technique showed the difference of cervical cells spectra between cancer and normal cells. These findings are similar to previous study at Ottawa University and Chulalongkorn University. If the sample collection technique is developed to get sufficient cell material for detection and the positive results can be proved to be real positive, therefore, this technique is appropriate for cervical cancer screening because it serves as easy, rapid, economical procedure and can diagnosis for early detection. | en |
dc.description.sponsorship | เงินอุดหนุนงบประมาณแผ่นดิน ประจำปี 2544 | en |
dc.format.extent | 13314336 bytes | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.language.iso | th | es |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.subject | ปากมดลูก -- มะเร็ง | en |
dc.subject | อินฟราเรดสเปกโทรสโกปี | en |
dc.title | การใช้เทคนิคอินฟราเรดตรวจมะเร็งปากมดลูกในส่วนภูมิภาค | en |
dc.title.alternative | Infrared spectroscopy technology for detection of cervival cancer in rural region | en |
dc.type | Technical Report | es |
dc.email.author | Ratana.S@Chula.ac.th | - |
dc.email.author | ไม่มีข้อมูล | - |
dc.email.author | Venus.U@Chula.ac.th | - |
dc.email.author | Pailin.S@Chula.ac.th์ | - |
dc.email.author | ไม่มีข้อมูล | - |
dc.email.author | ไม่มีข้อมูล | - |
Appears in Collections: | Health - Research Reports |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Ratana_infra.pdf | 13 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.