Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/74025
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorดำรงค์ ทวีแสงสกุลไทย-
dc.contributor.advisorวันชัย วิจิรวนิช-
dc.contributor.authorสุนันท์ วิเศษสรรโชค-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.date.accessioned2021-06-23T03:15:27Z-
dc.date.available2021-06-23T03:15:27Z-
dc.date.issued2534-
dc.identifier.isbn9745791202-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/74025-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2534en_US
dc.description.abstractวัตถุประสงค์ของการวิจัยครั้งนี้ เพื่อศึกษาสภาพและปัญหาในการผลิตชิ้นส่วนโลหะของรถยนต์'ใน ประเทศ พร้อมทั้งประยุกต์ให้วิชาการทางวิศวกรรมอุตสาหการ ด้านการศึกษาการทำงาน และการวางแผน การผลิต เพื่อหาแนวทางในการเพิ่มผลผลิต ในการศึกษาได้ใช้โรงงานผลิตชิ้นส่วนรถยนต์โรงงานหนึ่งเป็นกรณีศึกษา โดยมุ่งหวังว่าผลจากการศึกษาจะได้ให้เป็นแบบอย่างแก่โรงงานอุตสาหกรรมประเภทเดียวกันในประเทศ จากการศึกษาพบว่า ปัญหาที่พบในการผลิตสินส่วนโลหะของรถยนต์ ได้แก่ ปัญหาการเกิดเวลาสูญเปล่าของเครื่องอัดขึ้นรูปโลหะ ในกระบวนการอัดขึ้นรูปชิ้นงาน ปัญหาการขาดมาตรฐานการทำงาน ในกระบวนการเชื่อมประกอบชิ้นส่วน และปัญหาเรื่องระบบการวางแผนการผลิตขาดประสิทธิภาพจากสภาพ ปัญหาที่เกิดขึ้น ทางผู้วิจัยได้เสนอแนวทางในการปรับปรุง เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพโดย 1. การประยุกต์ให้เทคนิคต่าง ๆ ทางด้านการศึกษาการทำงาน เพื่อแก้ปัญหาเรื่องเวลาสูญเปล่าของเครื่องจักร 2. การจัดทำมาตรฐานการทำงานของส่วนงานประกอบชิ้นส่วน และ 3. การปรับปรุงระบบการวางแผนการผลิต ผลจากการศึกษาและวิจัยพบว่า ภายหลังการปรับปรุงตามแนวทางต่าง ๆ ที่เสนอแนะ ทำให้เวลาสูญเปล่าของเครื่องจักรลดลง ทำให้กำลังการผลิตในส่วนของการประกอบชิ้นส่วนต่าง ๆ เพิ่มขึ้น และทำให้ระบบการวางแผนการผลิตมีประสิทธิภาพสูงขึ้น อันเป็นผลให้ผลผลิตของการผลิตสินส่วนโลหะของรถยนต์สูงขึ้นด้วย-
dc.description.abstractalternativeThis research was performed with the objective to study the working condition and the existing problem in metallic auto parts manufacturing, and to adopt the knowledge of Industrial Engineering Work study and Production Planning application in order to provide for improving productivity. A domestic auto parts factory was chosen as the case study. The consequence of this research is expected to be benefit to other factories of the similar industry in Thailand. It is obvious from the study that the major problem in producing metallic auto parts are the lo s t time of the press machine during the process, the lack of working standard in the parts assembly process and the in efficiency of production planning system. As a result, the following guidelines were proposed in order to improve the efficiency: 1. Various Work study technique were applied in order to eliminate the lo s t time of press machine during process. 2. The working standard of the parts assembly process was set up. 3. The improvement in production planning system. After achieving the proposed guidelines as mentioned above. The result showed the improved metallic auto parts manufacturing as a whole.-
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectอุตสาหกรรมชิ้นส่วนรถยนต์en_US
dc.subjectการควบคุมการผลิตen_US
dc.subjectAutomobile supplies industryen_US
dc.subjectProduction controlen_US
dc.titleการเพิ่มผลผลิตในอุตสาหกรรมผลิตชิ้นส่วนโลหะของรถยนต์en_US
dc.title.alternativeProductivity improvement in metallic autoparts industryen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineวิศวกรรมอุตสาหการen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisordamrong.t@chula.ac.th-
dc.email.advisorไม่มีข้อมูล-
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Sunan_vi_front_p.pdf984.32 kBAdobe PDFView/Open
Sunan_vi_ch1_p.pdf1.13 MBAdobe PDFView/Open
Sunan_vi_ch2_p.pdf1.52 MBAdobe PDFView/Open
Sunan_vi_ch3_p.pdf2.83 MBAdobe PDFView/Open
Sunan_vi_ch4_p.pdf1.33 MBAdobe PDFView/Open
Sunan_vi_ch5_p.pdf1.16 MBAdobe PDFView/Open
Sunan_vi_ch6_p.pdf747.95 kBAdobe PDFView/Open
Sunan_vi_back_p.pdf677.65 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.