Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/745
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.author | จุฑา มนัสไพบูลย์ | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะเศรษฐศาสตร์ | - |
dc.coverage.spatial | ไทย (ภาคกลาง) | - |
dc.coverage.spatial | กรุงเทพฯ | - |
dc.date.accessioned | 2006-07-12T12:25:17Z | - |
dc.date.available | 2006-07-12T12:25:17Z | - |
dc.date.issued | 2526 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/745 | - |
dc.description | รายงานวิจัยเสนอต่อ คณะกรรมการบริหารโครงการวิจัยระดับจุลภาคในประเทศไทย เรื่องประชากรและการพัฒนา | en |
dc.description.abstract | งานวิจัยนี้เป็นการศึกษาวิเคราะห์ปัจจัยที่กระตุ้นให้สตรีเข้าทำงานในธุรกิจจ่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับอุตสาหกรรมการท่องเที่ยว ซึ่งได้แก่ ธุรกิจโรงแรม ธุรกิจนำเที่ยว ธุรกิจที่เกี่ยวกับการขนส่ง ธุรกิจการจำหน่ายของที่ระลึก และธุรกิจภัตตาคารและสถานเริงรมย์ การศึกษาวิจัยนี้ได้จำกัดขอบเขตโดยศึกษาเฉพาะธุรกิจต่าง ๆ ในเขตกรุงเทพมหานครเท่านั้น ข้อมูลที่ใช้ในการวิจัย เป็นข้อมูลที่ได้จากการสุ่มตัวอย่างแบบสองชั้น คือ สุ่มตัวอย่างบริษัทธุรกิจแล้วเลือกสุ่มตัวอย่างพนักงานสตรีจำนวนหลังจากบริษัทธุรกิจที่ตกเป็นตัวอย่าง การวิเคราะห์ข้อมูลจากตัวอย่างกลุ่มนายจ้างหรือฝ่ายจัดการ ทำให้ได้ศึกษาลักษณะธุรกิจการดำเนินงาน และทัศนคติต่อพนักงานสตรี ส่วนการวิเคราะห์ข้อมูลจากตัวอย่างกลุ่มพนักงาน ทำให้ได้ศึกษาลักษณะของแรงงานสตรี และได้ใช้วิธีวิเคราะห์ถดถอยพหุ (Multiple regression analysis) เพื่อศึกษาปัจจัยที่กระตุ้นให้พนักงานสตรีเข้าทำงานในธุรกิจต่าง ๆ ที่เกี่ยวกับอุตสาหกรรมท่องเที่ยว ผลจากการวิจัยนี้ ทำให้ทราบว่าแรงงานสตรีส่วนใหญ่ที่เข้าทำงานในอุตสาหกรรมการท่องเที่ยว โดยเฉพาะอย่างยิ่งในธุรกิจโรงแรม และธุรกิจเกี่ยวกับการขนส่งนั้น เกิดจากปัจจัยเกี่ยวกับโอกาสต้องการความก้าวหน้า และโอกาสอื่น ๆ จากการทำงานมากกว่าปัจจัยทางเศรษฐกิจ อันได้แก่ รายได้และสวัสดิการจากที่ทำงาน ผลการวิจัยนี้อาจนำไปใช้ประโยชน์เพื่อการวางแผนพัฒนาแรงงานสตรี ซึ่งนับวันจะมีบทบาทสำคัญต่อการพัฒนาประเทศมากขึ้น | en |
dc.description.abstractalternative | This research is an attempt to analyse various factors which motivate women to enter employment related to tourist industry, i.e. hotel, travel agencies, transport, souvenir and gift shops, restaurants and entertainment places. This research focuses on the above business in Bangkok metropolis. The research data derived fro two tiers sampling, i,c sampling on business enterprises, then sampling on female employees of the firms randomly selected. The analysis of data from sampled employers leads to the study of the nature of their business and their attitude toward women. The analysis of data from sampled employees, meanwhile, helps in the study of women employees. Multiple regression analysis is employed in the study of the various factors motivating women for employment in the various tourism-related businesses. The results of this study tell us that the majority of female employees in tourist industry particularly in hotel and transportation business are attracted into this employment by their desired for career advancement and other opportunities rather than remuneration, i.e. incomes and fringe benefits. | en |
dc.format.extent | 47715562 bytes | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.language.iso | th | en |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.subject | อุตสาหกรรมท่องเที่ยว--ไทย | en |
dc.subject | แรงงานสตรี--ไทย--กรุงเทพฯ | en |
dc.title | ปัจจัยกระตุ้นการเข้าร่วมแรงงานของสตรีในอุตสาหกรรมการท่องเที่ยว : ศึกษาเฉพาะเขตกรุงเทพมหานคร | en |
dc.title.alternative | Motivating factors for female participation in tourist industry : a case study for Bangkok Metropolis | en |
dc.type | Technical Report | en |
Appears in Collections: | Econ - Research Reports |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Chutha(moti).pdf | 46.76 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.