Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/75384
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | บุญชู ศรีตุลารักษ์ | - |
dc.contributor.author | เกศกมล จันทร์โภคาไพบูลย์ | - |
dc.contributor.author | ธมลวรรณ ตระการรังสี | - |
dc.contributor.author | พิชญาตรี ขุนฤทธิ์ | - |
dc.contributor.other | คณะเภสัชศาสตร์ | - |
dc.date.accessioned | 2021-09-02T08:18:27Z | - |
dc.date.available | 2021-09-02T08:18:27Z | - |
dc.date.issued | 2560 | - |
dc.identifier.other | Sepr 3.2/60 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/75384 | - |
dc.description | โครงงานเป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาเภสัชศาสตร์บัณฑิต สาขาวิชาเภสัชศาสตร์ คณะเภสัชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีการศึกษา 2560 | en_US |
dc.description.abstract | จากการทดสอบเบื้องต้นพบว่าสารสกัดหยาบด้วย methanal ของเอื้องผึ้งมีฤทธิ์ยับยั้งเอนไซม์ไลเปสมากกว่าร้อยละ 80 ที่ความเข้มข้น 100 ไมโครกรัมต่อมิลลิลิตร งานวิจัยนี้จึงมีวัตถุประสงค์เพื่อสกัดแยกสารที่เป็นองค์ประกอบทางเคมีจาก Dendrobium lindleyi หรือเอื้องผึ้ง และพิสูจน์โครงสร้างของสารบริสุทธิ์ที่มียับยั้งเอนไซม์ไลเปส ซึ่งจะใช้วิธี bioassay guided fractionation ในการคัดกรองฤทธิ์ในแต่ละขั้นตอนของการแยกสกัด ส่วนการแยกสกัดสารบริสุทธิ์จะใช้วิธี column chromatography ผ่าน silica gel column และ Sephadex LH-20 column อีกทั้งยังใช้วิธี thin layer chromatography มาช่วยในการหา solvent system ที่เหมาะสมในการสกัดและช่วยทำนายแนวโน้มการสกัดได้ จากนั้นนำสารที่ได้ไปพิสูจน์โครงสร้างทางเคมีด้วยเทคนิค NMR spectroscopy และนำมาทดสอบฤทธิ์ยับยั้งเอนไซม์ไลเปสด้วยวิธี lipase inhibitory assay โดยผลการวิจัยพบว่าสามารถสกัดแยกสารบริสุทธิ์ได้ 2 ชนิด และเมื่อนำสารดังกล่าวไปวิเคราะห์โครงสร้างทางเคมี พบว่าสาร moscatilin (1) และ cypripedin (2) ซึ่งจากการทดสอบฤทธิ์ยับยั้งเอนไซม์ไลเปสพบว่าสาร moscatilinไม่มีฤทธิ์ในการยับยั้งเอนไซม์ไลเปสส่วนสาร cypripedin สามารถยับยั้งเอนไซม์ไลเปสได้โดยมีค่า IC50 เท่ากับ 320.34 ไมโครโมลาร์ จากผลงานวิจัยที่กล่าวมาข้างต้นทั้งหมดสามารถสรุปได้ว่า cypripedin เป็นสารสกัดที่พบในเรื่องผึ้งที่มีฤทธิ์ยับยั้งเอนไซม์ไลเปส | en_US |
dc.description.abstractalternative | In a preliminary study, the menthanol extract of Dendrobium lindleyi showed more than 80% anti-lipase activity at the concentration of 100 μg/Ml. The aim of this project was to isolate and identify the constituents responsible for the anti-lipase activity form D. lindleyi. In a bioassay-guided fractionation, we were able to isolate the active compounds using a combination of techniques, including column chromatography (silica gel and Sephadex LH-20) and thin layer chromatography (silica gel). Through NMR spectroscopic studies, the compounds were characterized as mascutilin (1) and cypripedin (2). The two isolates were then evaluated for their lipase inhibitory activities. Only cypripedin showed lipase inhibitory activities with IC50 values of to 320.34 μM. | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | คณะเภสัชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.subject | เอนไซม์ | en_US |
dc.subject | สารยับยั้งเอนไซม์ | en_US |
dc.title | สารยับยั้งเอนไซม์ไลเปสจากเอื้องผึ้ง | en_US |
dc.title.alternative | Lipase inhibitors from Dendrobium lindleyi | en_US |
dc.type | Senior Project | en_US |
dc.email.advisor | boonchoo.sr@chula.ac.th | - |
dc.subject.keyword | เอื้องผึ้ง | en_US |
dc.subject.keyword | Dendrobium lindleyi | en_US |
Appears in Collections: | Pharm - Senior projects |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Pharm_SeniorProject_3.2_2560.pdf | ไฟล์โครงงานทางวิชาการฉบับเต็ม(3.2-2560) | 2.22 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.