Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/75441
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorพรชัย โรจน์สิทธิศักดิ์-
dc.contributor.authorสุชาดา แสงวิมาน-
dc.contributor.authorศิริกุล คณาวิวัฒน์-
dc.contributor.otherคณะเภสัชศาสตร์-
dc.date.accessioned2021-09-08T08:31:21Z-
dc.date.available2021-09-08T08:31:21Z-
dc.date.issued2560-
dc.identifier.otherSepr 3.8/60-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/75441-
dc.descriptionโครงงานเป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาเภสัชศาสตร์บัณฑิต สาขาวิชาการค้นพบและพัฒนายา คณะเภสัชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีการศึกษา 2560en_US
dc.description.abstractเคอร์คูมิน (curcumin) เป็นสารพอลิฟินอสที่พบในขมิ้นชัน (Curcuma (onga L.) มีฤทธิ์ทางเภสัชวิทยาที่ หลากหลายและมีความปลอดภัยสูง อย่างไรก็ตาม การประยุกด์ใช้เคอร์คูมินในทางคลินิกค่อนข้างจำกัด เนื่องจากเคอร์คูมินถูกเมทาบอไลซ์อย่างรวดเร็วในร่างกายผ่าน phase | conjugation ส่งผลให้มีค่าชีวปริมาณออกฤทธิ์ต่ำ งานวิจัยนี้ จึงได้ทำการออกแบบและสังเคราะห์เคอร์คูมินไตเอทิลไตกลูตาเรต ซึ่งเป็นโปรดรักชนิดใหม่ของเคอร์คูมินและศึกษาความคงตัวของเคอร์คูมินตเอทิลไตกลูตาเรตในสารละลายฟอสเฟตบัฟเฟร์ pH 7.4 และในพลาสมาของมนุษย์ ผลการทดลองพบว่า เคอร์คูมินไดเอทิลไดกลูตาเรตสามารถสังเคราะห์ได้ด้วยปฏิกิริยาเอสเทอริฟิเคชันระหว่างหมู่ฟังก์ชันฟีนอลทั้งสองหมู่ของเคอร์คูมินกับกลูตาริกแอชิตมอนอเอทิลเอสเทอร์คลอไรด์ ได้ผลผลิตประมาณ 50.5%สารที่สังเคระห์ขึ้นผ่านการพิสูจน์เอกลักษณ์ด้วยเทคนิคโปรตอนและคาร์บอน-13 นิวเคลียร์แมกเนติกเรโซแนนสเปกโตรสโกปี อินฟาเรตสเปกตรสโกปี แมสสเปกโตรเมทรี และการวัดจุดหลอมเหลวของสาร จากการศึกษาความคงตัวของเคอร์คูมินไตเอทิลไตกลูตาเรตโดยการวิเคราะห์หาปริมาณของสารตั้งต้นที่ลดลงในสารละลายฟอสเฟตบัฟเฟอร์ pH 7.4 ด้วยอัลตราไฮเพอฟอร์แมนซ์ลิควิตโครมาโทกราฟี และทำนายค่าคงที่อัตราเร็วการสลายตัว (Kobs) และค่าครึ่งชีวิต (t1/2) โดยใช้จลนศาสตร์ของปฏิกิริยาอันตับหนึ่งเทียม พบว่าเคอร์คูมินไดเอทิลไตกลูตาเรตมีค่าเท่ากับ 2.48 x 10-2 นาที-1 และ 27.9 นาที ตามลำตับ เทียบกับเคอร์คูมินซึ่งมีค่าเท่ากับ 2.39 x 10-2 นาที-1 และ 29.0 นาทีตามลำดับ จากการศึกษาการปลดปล่อยเคอร์คูมินจากเคอร์คูมินไตเอทิลไตกลูตาเรตในพลาสมาของมนุษย์ โตยการวิเคราะห์หาปริมาณเคอร์คูมินไดเอทิลไตกลูตาเรตที่ลดลงและเคอร์คูมินที่เกิดขึ้ น พบว่าเคอร์คูมินไดเอทิลไตกลูตาเรตสามารถปลดปล่อยเคออร์คูมินได้ โตยเคอร์คูมินไตเอทิลไดกลูตาเรตมีค่าคงที่อัตราเร็วการสลายตัวในพลาสมาเท่ากับ 5.88 x 10-2 นาที-1 และค่าครึ่งชีวิตเท่ากับ 11.8 นาที จากการที่เคอร์คูมินไตเอทิสไตกลูตาเรตมีค่าคงที่อัตราเร็ว การสลายตัวในพลาสมาของมนุษย์มากกว่านสารละลายฟอสเฟตบัฟเฟอร์ pH7.4เป็นผลมาจากเคอร์คูมินไดเอทิลไดกลูตาเรตถูกเร่งให้เกิดการสลายตัวและปลตปล่อยเคอร์คูมิน ชื่งคาตว่าเกิดโดยปฏิกิริยาไฮโตรไลซิสผ่านเอสเทอเรสในพลาสมา ผลการวิจัยนี้แสดงให้เห็นว่า เคอร์คูมินไดเอทิลไตกลูตาเรตมีศักยภาพในการพัฒนาเพื่อเป็นโปรดรักของเคอร์คูมินที่สามารถออกฤทธิ์ทางชีวภาพได้ในอนาคตen_US
dc.description.abstractalternativeCurcumin is a polyphenolic compound found in turmeric (Curcuma longa L.). It has been demonstrated for numerous pharmacological activities with a safety profile. However, the use of curcumin in clinical applications is still limited due to the extensive metabolism via phase Il conjugation, resulting in low oral bioavailability. In this study, curcumnin diethyl diglutarate (CDG), a new curcumin prodrug, has been designed and synthesized. The chemical stability of CDG in phosphate buffer pH 7:4 and human plasma was tested. The results show that CDG can be synthesized by an esterification of both phenolic groups of curcumin with glutaric acid monoethyl ester chloride with the yield of 50.5%. The synthesized CDG was characterized by 'H and 13C nuclear magnetic resonance spectroscopy, infrared spectroscopy, high resolution mass spectrometry and melting point determination. The chemical stability of CDG was investigated by measuring the decrease of CDG in phosphate buffer pH 7.4 with ultra-high performance liquid chromatography. The initial degradation rate constant (kobs) and half-life (t1/2) was calculated using a pseudo-first order kinetic model. It was found that the kabs and tur of CDG were 2.48 x 10-2 min-1 and 27.9 min, respectively, while the kobs and t1/2 of curcumin were 2.39 x 10-2 min-1 and 29.0 min, respectively. The release of curcumin in human plasma from CDG was also studied by monitoring the reduction of CDG and occurrence of curcumnin. It was found that CDG degraded in human plasma with the kobs and tvz of 5.88 x 10-2 min-1 and 11.8 min respectively. The higher degradation rate in human plasma of CDG in comparison with that of phosphate buffer pH 7.4 indicates that the conversion of CDG to curcumin is accelerated. It implies that CDG undergoes hydrolysis reactions catalyzed by plasma esterases. In conclusion, this research shows that CDG has a potential to be developed as a curcumin prodrug with promising biological activities.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherคณะเภสัชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectเคอคูมินen_US
dc.subjectCurcuminen_US
dc.subjectขมิ้นชันen_US
dc.subjectTurmericen_US
dc.titleการสังเคราะห์และศึกษาความคงตัวทางเคมีของสารเคอร์คูมินไดเอทิลไดกลูตาเรตen_US
dc.title.alternativeSyntheis and chemical stability of curcumin diethyl diglutrateen_US
dc.typeSenior Projecten_US
dc.email.advisorpornchai.r@chula.ac.th-
dc.subject.keywordเคอคูมินen_US
dc.subject.keywordCurcuminen_US
Appears in Collections:Pharm - Senior projects

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Pharm_SeniorProject_3.8_2560.pdfไฟล์โครงงานทางวิชาการฉบับเต็ม(3.8-2560)2.39 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.