Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/75606
Title: องค์ประกอบทางเคมีและฤทธิ์ทางชีวภาพของกล้วยไม้รองเท้านารีเหลืองกระบี่
Other Titles: Chemical constituents and bioactivities of Paphiopedilum exul
Authors: ลดาวัลย์ ธีรสุขพิมล
พัทธาทร เอกอนันทกุล
Advisors: รุทธ์ สุทธิศรี
Other author: คณะเภสัชศาสตร์
Advisor's Email: rutt.s@pharm.chula.ac.th
Subjects: กล้วยไม้
Orchids
เซลล์มะเร็ง
Cancer cells
Issue Date: 2558
Publisher: คณะเภสัชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
Abstract: ในประเทศไทยเราสามารถพบกล้วยไม้รองเท้านรีสกุล Paphiopedilum ได้หลายชนิด แต่ยังมีการศึกษาองค์ประกอบทางเคมีและฤทธิ์ทางชีวภาพของกล้วยไม้สกุลนี้น้อยมาก โดยในปี พ.ศ. 2557 ได้มีการศึกษาพบสารกลุ่มสติลบีน (stilbenes) และ กลุ่มฟลาโวนอยด์ ((lavonoids) หลายชนิดในรากของกล้วยไม้รองเท้านารีเหลืองตรัง (Paphiopedilum sodefroyae) ซึ่งบางชนิดมีฤทธิ์ความเป็นพิษต่อเซลล์มะเร็ง ดังนั้นคณะผู้วิจัยจึงเลือกที่จะทำการศึกษาองค์ประกอบท างเคมีและฤทธิ์ทางชีวภ าพในใบของกล้วยไม้รองเท้านารีอีกชนิดหนึ่งคือ รองเท้านารีเหลืองกระบี่ (P. exul)ซึ่งเป็นพืชที่ยังไม่เคยมีการศึกษามาก่อนโดยทำการแยกองค์ประกอบทางเคมีจากสารสกัดด้วย เมทานอลด้วยวิธีคอลัมน์โครมาโทกราฟี สามารถแยกสารได้ 7 ชนิด ได้แก่ สารกลุ่มควิโนน 1 ชนิด คือ exulquinoneซึ่งพบว่าเป็นสารธรรมชาติชนิดใหม่ สารกลุ่มสติลบีน 2 ชนิด คือ 5-hydroxy-3-methoxy-trans-stilbene และ 5-hydroxy-3-methoxy-cis-stilbene สารกลุ่มฟลาโวนอยด์ 1 ชนิด คือ isokaempferide สารผสมของไฟโต-สเตอรอล 2 ชนิด คือ β-sitosterol และ stigmasterol (อัตราส่วน 1:2) และ สารผสมของกรดไขมัน
Other Abstract: In Thailand, there are several species of Paphiopedilum, a genus of lady's slipper orchids. However, very few studies on the chemical constituents and bioactivities of these orchids have been performed. Previously in 2014, a research on Paphiopedilum godefroyae roots reported the presence of several stilbenes and flavonoids, some of which exhibited cytotoxicity to cancer cell lines. Therefore, our group has selected another previously uninvestigated Paphiopedilum orchid, P. exul, to study the constituents of its leaves and their bioactivities. Column chromatography of the methanol extract from the leaves of this orchid yielded seven compounds i.e. a new benzoquinone named exulquinone, two stilbenes (5-hydroxy-3-methoxy-trans-stilbene and 5-hydroxy-3-methoxy-cis-stilbene), a flavonoid (isokaempferide), a 1:2 phytosterol mixture of β - sitoterol and stigmasterol and a mixture of fatty acids.
Description: โครงงานเป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาเภสัชศาสตร์บัณฑิต สาขาวิชาการค้นพบและพัฒนายา คณะเภสัชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีการศึกษา 2558
URI: http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/75606
Type: Senior Project
Appears in Collections:Pharm - Senior projects

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Pharm_SeniorProject_3.2_2558.pdfไฟล์โครงงานทางวิชาการฉบับเต็ม(3.2-2558)1.34 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.