Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/76623
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorฐิติศักดิ์ บุญปราโมทย์-
dc.contributor.authorบุญยนุช กรีกูล-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.date.accessioned2021-09-21T06:48:44Z-
dc.date.available2021-09-21T06:48:44Z-
dc.date.issued2563-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/76623-
dc.descriptionสารนิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2563-
dc.description.abstractสารนิพนธ์นี้นำเสนอการศึกษาและประเมินศักยภาพเชิงพื้นที่ของแผงเซลล์แสงอาทิตย์ชนิดติดตั้งบนหลังคา กรณีศึกษา เขตพื้นที่จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาเกี่ยวกับระบบผลิตไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ชนิดติดตั้งบนหลังคา ข้อกำหนดและข้อจำกัดต่าง ๆ นำมาใช้เป็นเกณฑ์ในการคัดเลือกเพื่อใช้ในการประเมินพื้นที่ที่สามารถติดตั้งแผงเซลล์แสงอาทิตย์บนหลังคาและประเมินพลังงานไฟฟ้าที่ผลิตได้จากพื้นที่ดังกล่าว จากการรวบรวมข้อมูลมีจำนวนอาคารรวม 216 อาคาร และใช้ข้อจำกัดด้านวิศวกรรมในการคัดเลือกพื้นที่หลังคาอาคาร มีอาคารจำนวน 87 อาคารที่ผ่านการคัดเลือก จากการคำนวณพลังงานไฟฟ้าที่ผลิตได้และการใช้โปรแกรมวิเคราะห์ จากการศึกษาสามารถสรุปได้ว่าพื้นที่หลังคาอาคารที่เหมาะสมสำหรับการติดตั้งระบบผลิตไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์มีทั้งหมดประมาณ 113,897 ตารางเมตร และโดยเมื่อประเมินพื้นที่สำหรับการติดตั้งจริงโดยคำนึงถึงสิ่งกีดขวาง เช่น ระบบปรับอากาศขนาดใหญ่ เป็นต้น และการจัดวางแผงและระบบทำให้มีพื้นที่ที่สามารถติดตั้งได้จริงเพียงร้อยละ 40 มีความสามารถในการติดตั้งแผงเซลล์แสงอาทิตย์ได้สูงสุดจำนวน 23,076 แผง หรือคิดเป็นพื้นที่ 46,590.44 ตารางเมตร โดยมีพลังงานไฟฟ้าที่ประเมินว่าจะผลิตได้ทั้งหมด 13,473.03 MWh/year ทั้งนี้พลังงานไฟฟ้าที่ผลิตได้คิดเป็นสัดส่วนการทดแทนการใช้พลังงานได้ร้อยละ 26.49 ของการใช้ไฟฟ้าทั้งหมดในมหาวิทยาลัย คิดเป็นค่าไฟประมาณปีละ 66,556,768.2 บาท-
dc.description.abstractalternative This research aims to assess the suitable rooftop area with a potential for solar PV rooftop installation in the case study area of Chulalongkorn University. Determine the suitable buildings with potential by applying the limitations of solar rooftop such as roofing structural and shading that affects system energy production. Employ the geographical information system and software to evaluate the total rooftop area and the technical potential of the PV system. In conclusion, the result represents that 87 out of 216 buildings in Chulalongkorn University are suitable for solar PV installation. The total rooftop area is approximately 115,400.99 sq.m. However, only 23,076 PV panels are applicable for installation (approximately 46,590.44 sq.m). Therefore, the overall annual energy production of all buildings is approximately 13,473.03 MWh. The system annual production can reduce the energy approximately 26.49 percent of the total energy consumption in the campus and save around 66,556,768.2 THB per year.-
dc.language.isoth-
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
dc.relation.urihttp://doi.org/10.58837/CHULA.IS.2020.116-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
dc.subjectพลังงานแสงอาทิตย์-
dc.subjectไฟฟ้าแสงอาทิตย์-
dc.subjectเซลล์แสงอาทิตย์-
dc.subjectSolar energy-
dc.subjectSolar cells-
dc.subject.classificationEnergy-
dc.titleการประเมินศักยภาพเชิงพื้นที่ของแผงพลังงานแสงอาทิตย์ชนิดติดตั้งบนหลังคา กรณีศึกษา เขตพื้นที่จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
dc.title.alternativeArea-based assessment of solar PV rooftop installation potential: case study of Chulalongkorn university-
dc.typeIndependent Study-
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต-
dc.degree.levelปริญญาโท-
dc.degree.disciplineเทคโนโลยีและการจัดการพลังงาน-
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
dc.identifier.DOI10.58837/CHULA.IS.2020.116-
Appears in Collections:Grad - Independent Studies

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
6282012120.pdf16.81 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.